dc.contributor.author |
วรางคณา วิเศษมณี ลี |
|
dc.contributor.author |
Varangkana Visesmanee Lee |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
en |
dc.date.accessioned |
2024-11-05T02:35:19Z |
|
dc.date.available |
2024-11-05T02:35:19Z |
|
dc.date.issued |
2024 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3222 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดปริมาณโลหะหนัก ได้แก่ แคดเมียม และสารหนู ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สาหร่ายแห้งแล้วนำมาประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สาหร่ายแห้งที่มีการปนเปื้อนโลหะหนัก ร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิ ผลิตภัณฑ์สาหร่ายแห้งที่ทำการสำรวจมีทั้งหมด 29 ตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ สาหร่ายแห้งพร้อมรับประทาน, สาหร่ายห่อซูชิ และสาหร่ายแห้งประกอบอาหาร และทำการวิเคราะห์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ปริมาณธาตุและโลหะด้วยเทคนิค ICP-OES (Inductively Coupled Plasma-Optical Emission Spectrometer) ผลการสำรวจพบปริมาณการปนเปื้อนแคดเมียมและสารหนูอยู่ในช่วง 0.005±0.01 - 4.15±0.23 และ 0.19±0.06 - 3.02±0.62 mg/kg ตามลำดับ ซึ่งส่วนใหญ่มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้ผลการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคสาหร่ายแห้งที่มีการปนเปื้อนแคดเมียมและสารหนู พบว่า อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพภายใต้กรอบการประเมินที่กำหนดทั้งในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่ และหากมีการบริโภคอย่างต่อเนื่อง พบว่า ปริมาณสารหนูที่พบในสาหร่ายอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง |
en |
dc.description.abstract |
The main objective of this study was conducted to survey heavy metals, including Cadmium and Arsenic which contaminated in dry seaweed. These contaminations then were used to assess health impact with secondary data. Twenty-nine samples of dried seaweeds were collected which divided into 3 groups, these were finished dry seaweed (ready-to-eat), sushi-wrapped seaweed, raw dried seaweed. All samples were analyzed heavy metals with Coupled Plasma-Optical Emission Spectrometer (ICP-OES). The results showed that concentration of Cadmium and Arsenic were found to be in the range of 0.005±0.01 - 4.15±0.23 and 0.19±0.06 - 3.02±0.62 mg/kg, respectively which mostly exceed than the standard of Public Health Ministry. In addition, risk assessment from seaweed consumption might affect to health of the consumers both in children and adult groups, and the continuous consumption might also cause cancer risk from Arsenic contaminated in raw dried seaweed. |
en |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2565 |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
สาหร่ายแห้ง -- ปริมาณโลหะหนัก |
en |
dc.subject |
Marine algae -- Heavy metal content. |
en |
dc.subject |
โลหะหนัก |
en |
dc.subject |
Heavy metals. |
en |
dc.subject |
การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
en |
dc.subject |
Health risk assessment |
en |
dc.title |
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สาหร่าย |
en |
dc.title.alternative |
Health Impact Assessment from Seaweed Consumption |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |