dc.contributor.author |
อรอนงค์ อนุจรพิพัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
ชวิศา รัตนกมลกานต์ |
|
dc.contributor.author |
จิราภรณ์ พรมจักรแก้ว |
|
dc.contributor.author |
Onanong Anujornpipat |
|
dc.contributor.author |
Chawisa Rattanakamolkan |
|
dc.contributor.author |
Jiraporn Promjakkaew |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
McCormick Hospital |
en |
dc.date.accessioned |
2024-11-12T05:31:14Z |
|
dc.date.available |
2024-11-12T05:31:14Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 28, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565) : 59-68. |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3254 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ :
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnorthnurse/article/view/256338/176063 |
en |
dc.description.abstract |
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID -19) ในประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 พบว่า การแพร่ระบาดระลอกนี้ส่งผลกระทบที่รุนแรงมากขึ้นในกลุ่มเด็กโรคหอบหืดทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมโรคหอบหืดเป็นโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก เมื่อเด็กที่เป็นโรคหอบหืดติดเชื้อโควิด-19 มักจะมีอาการและอาการแสดงของโรครุนแรงมากกว่าเด็กโรคอื่น ๆ อีกทั้งยังพบว่าการติดเชื้อจะส่งผลให้อาการหอบกำเริบ และกระตุ้นระบบทางเดินหายใจ ทำให้เกิดอาการหอบเฉียบพลัน หรืออาจเกิดภาวะปอดอักเสบเฉียบพลันได้ จากผลกระทบที่เกิดขึ้น หากเด็กโรคหอบหืดไม่ได้รับการดูแลจากสถานบริการหรือผู้ดูแล (พ่อแม่หรือญาติ) ที่มีประสิทธิภาพ และไม่ได้รับยาที่ถูกต้องก็จะส่งผลให้เกิดความรุนแรงของโรคมากยิ่งขึ้น ในทางตรงกันข้ามหากเด็กโรคหอบหืดได้รับการจัดการดูแลที่เหมาะสมจากผู้ดูแล ก็จะสามารถควบคุมอาการรุนแรงของโรค และลดอัตราการเข้ารับบริการในแผนกฉุกเฉินได้ การจัดการผู้ดูแลเด็กโรคหอบหืดจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการป้องกันและลดระดับความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ดังนั้นพยาบาลจึงควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท แนวทางการดูแลที่เหมาะสมเพื่อป้องกันไม่ให้เด็กติดโควิด-19 และวิธีการลดระดับความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น ส่งผลให้เด็กโรคหอบหืดและผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดี |
en |
dc.description.abstract |
The COVID-19 pandemic situation increasingly spread in Thailand from April to November. This pandemic has severely affected children with asthma regarding to their physical, mental, emotional, and social aspects. Asthma is a chronic respiratory tract disease in children. If they became COVID-19 infected, the symptoms of asthma would be more serious than children with other diseases. Furthermore, The COVID-19 infection impacts on asthmatic attack which stimulates the respiratory system exacerbations of asthma and pneumonia. Regarding these impacts, if asthmatic children received insufficient healthcare providers from the health services or caregivers and incorrect medical treatment, the severity of the disease would increase. However, if children with asthma received appropriate care from the caregivers, they could control the severe symptoms and reduce the emergency hospitalization rate. Hence, caregiver management of children with asthma is a major priority to prevent and decrease the severity of the disease during the COVID-19 pandemic situation. Therefore, healthcare providers should understand their roles and use appropriate guidelines in order to prevent COVID-19 infection. This help reducing the severity of asthma and promote quality of life of children with asthma. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
หืดในเด็ก -- การดูแล |
en |
dc.subject |
Asthma in children -- Care |
en |
dc.subject |
โควิด-19 (โรค) |
en |
dc.subject |
COVID-19 (Disease) |
en |
dc.subject |
การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- |
en |
dc.subject |
COVID-19 Pandemic, 2020- |
en |
dc.subject |
คุณภาพชีวิต |
en |
dc.subject |
Quality of life |
en |
dc.title |
ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อคุณภาพชีวิตของเด็กโรคหอบหืดและแนวทางการดูแล |
en |
dc.title.alternative |
The Impact of the COVID-19 Pandemic Situation on Quality of Life Children with Asthma and Guidelines for Providing Care |
en |
dc.type |
Article |
en |