dc.contributor.author |
ธีรวัฒน์ พงศ์ภาณุพัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
ปัณณทัต บนขุนทด |
|
dc.contributor.author |
ปิยะอร รุ่งธนเกียรติ |
|
dc.contributor.author |
นิยตา ประสงค์กุล |
|
dc.contributor.author |
ถาวรีย์ แสงงาม |
|
dc.contributor.author |
กัลยา มั่นล้วน |
|
dc.contributor.author |
Teerawat Phongphanupat |
|
dc.contributor.author |
Punnathut Bonkhunthod |
|
dc.contributor.author |
Piyaon Rungtanakiat |
|
dc.contributor.author |
Niyata Prasongkul |
|
dc.contributor.author |
Thawaree Saengngam |
|
dc.contributor.author |
Kanlaya Munluan |
|
dc.contributor.other |
Western University, Buri Ram Campus. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Western University, Buri Ram Campus. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Western University, Buri Ram Campus. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Western University, Buri Ram Campus. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Buri Ram Rajabhat University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
HuachIew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.date.accessioned |
2024-11-12T14:35:54Z |
|
dc.date.available |
2024-11-12T14:35:54Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ 37, 3 (กันยายน-ธันวาคม 2565) : 559-568. |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3257 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ :
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MJSSBH/article/view/260099/177981 |
en |
dc.description.abstract |
หลักการและเหตุผล : ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาทางสังคมที่มีความสำคัญยิ่ง ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและ ประเทศกำลังพัฒนา ในหลายส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน ได้มองปัญหาแบบองค์รวมในมุมมองต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการเสพสารเสพติด ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ได้แก่ ความตระหนักในตนเองเกี่ยวกับการเสพสารเสพติด การเห็นคุณค่าในตนเอง ทักษะการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการตัดสินใจเพื่อป้องกันการเสพสารเสพติด
วิธีการศึกษา : การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เลือกแบบเจาะจง ตามเกณฑ์ข้อตกลงเบื้องต้น ได้กลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการเสพสารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติที
ผลการศึกษา : ผลการศึกษาพบว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมสุขศึกษาก่อน และหลังการทดลองมีทักษะชีวิตไม่แตกต่างกัน ส่วนในด้านความตระหนักในตนเอง และด้านการเห็นคุณค่าในตนเองหลังการทดลองมีความแตกต่างก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ |
en |
dc.description.abstract |
Background : Drug addict is one the most important social problems affecting both developing and developed countries. Multi-sector collaboration among all stakeholders in both government and non-government organizations and holistic approach is a key strategy for effective management.
Objective : To study the effects of life skills enhancement program with participatory learning to prevent substance abuse among secondary school students in I-San subdistrict, mueang district, buri Ram province.
Methods : This was a quasi-experimental research. The samples of students at secondary school level I to III students of extensive schools. 30 students were selected as the control group. Those three schools were selected by purposive sampling. The data were collected by using questionnaires. The t-test was used for data analysis.
Results : The results were as follow: 1) The experimental group having life skill development program before and after the experiment had no different in the interpersonal relationship and communication skill and the decision-making skill, but the self-awareness, the self-esteem after the experiment had different in the experiment with statistically significant difference at 0.05 level. 2) The self-esteem, the interpersonal relationship and communication skill and the decision-making skill between the two groups were not different, but the self-awareness of the experimental group showed more positive result than the control group with statistically significant difference at 0.05 level.
Conclusions : The life skills enhancement program the self-awareness, the self-esteem with participatory learning to prevent substance abuse showed effectiveness of secondary school students. The further and applied study should be considered in others schools to enhanced life skills and early prevention of substance abuse in early adolescents. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
ยาเสพติดกับเยาวชน |
en |
dc.subject |
เยาวชน – การใช้ยา |
en |
dc.subject |
Youth -- Drug use |
en |
dc.subject |
การติดยาเสพติด |
en |
dc.subject |
Drug addiction |
en |
dc.subject |
ยาเสพติด |
en |
dc.subject |
Narcotics |
en |
dc.subject |
ยาเสพติด – การป้องกัน |
en |
dc.subject |
Narcotics – Prevention |
en |
dc.subject |
ทักษะชีวิต |
en |
dc.subject |
Life skills |
en |
dc.subject |
นักเรียนมัธยมศึกษา – ไทย – บุรีรัมย์ |
en |
dc.subject |
High school students – Thailand -- Buri Ram |
en |
dc.title |
ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการเสพสารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตำบล อิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ |
en |
dc.title.alternative |
Effects of Life skill Development program for Drug addiction Prevention of Secondary school students in I-San Subdistrict, Mueang District, Buri Ram Province |
en |
dc.type |
Article |
en |