dc.contributor.author |
ภัสสร วิชิต |
|
dc.contributor.author |
ธันยพร บุตรศรี |
|
dc.contributor.author |
ชัชฎาภรณ์ มรรควิจิตร |
|
dc.contributor.author |
วิรัญชนา คำล้าน |
|
dc.contributor.author |
มัลลิกา อินต๊ะเสน |
|
dc.contributor.author |
ศุภสิทธิ์ คล่องแคล่ว |
|
dc.contributor.author |
ปวัณปรัชญ์ โฆษิวากาญจน์ |
|
dc.contributor.author |
ปิ่นสุดา แย้มเผื่อน |
|
dc.contributor.author |
Patsorn Wichit |
|
dc.contributor.author |
Thunyaporn Butrsri |
|
dc.contributor.author |
Chatchadaporn Makwijit |
|
dc.contributor.author |
Manlika Intasane |
|
dc.contributor.author |
Supasit Klongklaew |
|
dc.contributor.author |
Pawanaprat Kosiwakan |
|
dc.contributor.author |
Pinsuda Yampurn |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy. Student of Bachelor of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy. Student of Bachelor of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy. Student of Bachelor of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy. Student of Bachelor of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy. Student of Bachelor of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy. Student of Bachelor of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy. Student of Bachelor of Physical Therapy |
en |
dc.date.accessioned |
2024-11-25T05:59:32Z |
|
dc.date.available |
2024-11-25T05:59:32Z |
|
dc.date.issued |
2024 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3299 |
|
dc.description |
Proceedings of the 11th National and International Conference on "Research to Serve Society", 26 June 2024 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 62-70. |
en |
dc.description.abstract |
ภาวะลองโควิด คือ อาการที่คงค้างในระยะยาวที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังหายจากโรคโควิด 19 พบได้ในหลายอวัยวะทั่วร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบกระดูกกล้ามเนื้อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อเหยียดเข่าภายหลังหายจากโรคโควิดในระยะเฉียบพลัน อาสาสมัครที่เข้าร่วมเป็นเพศชายและหญิง อายุระหว่าง 19-25 ปี แบ่งเป็น 2 กลุ่ม (15 คน/กลุ่ม) ได้แก่ กลุ่มโควิด 19 (ติดเชื้อโควิดมานานกว่า 1 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน) และกลุ่มควบคุม (ไม่เคยติดเชื้อโควิด) อาสาสมัครได้รับการทดสอบกล้ามเนื้อเหยียดเข่าโดยวัดแรงหดตัวสูงสุดด้วยเครื่องวัดไดนาโมมิเตอร์แบบมือถือ และประเมินความทนทานโดยการวัดสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อผ่านขั่วที่ผิวหนังขณะทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยการเดิน 6 นาที (6 MWT) โดยวัดนาทีที่ 6 และวัดระยะทางที่เดินได้ ผลพบว่า แรงหดตัวสูงสุดของกล้ามเนื้อเหยียดเข่า (10.26+-3.21 vs 14.81+-6.03 กิโลกรัม, p=0.017) และระยะทางการเดิน 6MWT (443.18+-121.39 vs 562.13+-71.34 เมตร, p=0.003) ของกลุ่มโควิด 19 น้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อระหว่างสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน สรุปได้ว่าความแข็งแรงและความทนทานในการออกกำลังกายของกล้ามเนื้อลดลงเป็นอาการลองโควิดที่สำคัญในผู้ที่เคยติดเชื้อโควิด 19 |
en |
dc.description.abstract |
A long-COVID condition is the symptoms of patients which are continue or develop after 4 weeks from start a SAR-CoV-2 infection. These symptoms involve in multiple organs, especially in the musculoskeletal system. This study aimed to evaluate the strength and endurance of knee extensors after post-acute COVID-19 phase. In this study, the participants were divided into two groups (n=15/group) including COVID-19 and control group. COVID-19 group was the patients who were infected with COVID-19 for a month but not more than 6 months. Control group was the people who never been infected with COVID-19. All of participants were male and female, aged between 19-25 years. The maximum voluntary contraction (MVC) of the knee extensors was assessed by using a hand-held dynamometer. Knee extensor endurance was evaluated by the 6 minute walk test (6MWT). In addition, root mean square (RMS) was determined by electromyography at the rectus femoris (RF)m vastus medialis oblique (VMO), and vastus lateralis (VL) during 6MWT and recorded at minute 6. Interestingly, COVID 19 group had a lower significance in the MVC (10.26+-3.21 vs 14.81+-6.03 kg, p=0.017) and the distances of 6MWT (443.18 +-121.39 vs 562.13+-71.34 m, p=0.003) than the control group. However, there were no statistically significant differences in RMS of the RF, VL, and VMP between CCOVID-19 and control group (p=0.05). In conclusion, these findings suggest that the poor muscle strength and endurance are an important one of long COVID conditions. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
ภาวะที่พบผลกระทบระยะยาวของการติดเชื้อโควิด-19 |
en |
dc.subject |
Post-Acute COVID-19 Syndrome |
en |
dc.subject |
ภาวะลองโควิด |
en |
dc.subject |
Long COVID |
en |
dc.subject |
กำลังกล้ามเนื้อ |
en |
dc.subject |
Muscle strength |
en |
dc.subject |
กล้ามเนื้อ |
en |
dc.subject |
Muscle |
en |
dc.subject |
ขา -- กล้ามเนื้อ |
en |
dc.subject |
Leg -- Muscles |
en |
dc.title |
การศึกษาความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อกลุ่มเหยียดเข่าภายหลังหายจากการติดเชื้อโควิด 19 ในระยะเฉียบพลัน |
en |
dc.title.alternative |
The Study of Strength and Endurance of the Knee Extensors in the Post-acute Phase of COVID-19 |
en |
dc.type |
Proceeding Document |
en |