DSpace Repository

การประเมินผลการนำผลงานวิจัยด้านระบบประกันสุขภาพที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขไปใช้ประโยชน์

Show simple item record

dc.contributor.advisor เสาวลักษณ์ ลักษมีจรัลกุล
dc.contributor.advisor Soavalug Luksamijarulkul
dc.contributor.author นงนุช ทองศรี
dc.contributor.author Nongnuch Thongsri
dc.contributor.other Huacheiw Chalermphrakeit University. Faculty of Public Health and Environment
dc.date.accessioned 2024-12-01T02:49:53Z
dc.date.available 2024-12-01T02:49:53Z
dc.date.issued 2006
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3304
dc.description สารนิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการระบบสุขภาพ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2549 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเมินผลการนำผลงานวิจัยด้านระบบประกันสุขภาพที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขไปใช้ประโยชน์ในระดับนโยบายและระดับงานประจำ ตลอดจนปัญหาอุปสรรคจากการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ โดยการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ และให้ตอบแบบสอบถามกลับ รวมได้รับข้อมูลทั้งสิ้น 71 ชุด คิดเป็นร้อยละ 30.21 ของแบบสอบถาามทั้งหมด 235 ชุด สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เป็นจำนวนร้อยละ และวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีการศึกษาระดับปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ พนักงานของรัฐ และบทบาทการทำงานส่วนใหญ่เป็นผู้บริหาร ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีการนำผลงานวิจัยด้านระบบประกันสุขภาพที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขไปใช้ทั้งหมด 46 คน คิดเป็นร้อยละ 64.79 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เมื่อจำแนกตามจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามและลักษณะการใช้ประโยชน์มีการนำไปใช้ทั้งหมดถึง 205 กรณี โดยมีการนำไปใช้ประโยชน์ในระดับนโยบายจำนวน 36 กรณี คิดเป็นร้อยละ 17.56 นำไปใช้ประโยชน์ในระดับงานประจำ จำนวน 98 กรณี คิดเป็นร้อยละ 47.80 นำไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ จำนวน 71 กรณี คิดเป็นร้อยละะ 34.63 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังนี้ (1) นำไปใช้ประโยชน์ในระดับนโยบาย 4 ด้าน คือ มากที่สุดนำไปใช้ในด้านการเงินการคลัง รองลงมา ด้านการบริการและด้านการบริหาร ตามลำดับ และส่วนน้อยนำไปจัดทำเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย (2) นำไปใช้ประโยชน์ในระดับงาน ประจำ 5 ด้าน คือ มากที่สุดใช้ในด้านการเงินการคลัง รองลงมาด้านการบริการ ด้านการบริหาร ด้านทรัพยากรบุคคล และด้านการคุ้มครองผู้บริโภคตามลำดับ และน้อยที่สุดนำไปใช้งานประจำด้านอื่นๆ (3) นำไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ 4 ด้าน คือ นำไปใช้มากที่สุดในด้านการเรียน การสอน รองลงมา ใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ และใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะตามลำดับ และน้อยที่สุดนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิช์ และ (4) ปัญหา อุปสรรคจากการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 4 ด้าน คือ ปัญหาด้านการบริหารจัดการงานวิจัย ปัญหาด้านองค์กรสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปัญหาจากผลงานวิจัย และปัญหาที่เกิดจากผู้ใช้ผลงานวิจัย en
dc.description.abstract The purposes of this research were to evaluate the usage of the researches on Health Insurance Systems which were supported by Health Systems Research Institute (HSRI) in either policy or routine work levels; and to analyze the problems/obstacles on the usage of these research findings. Data collection was done by using questionnaires sent to the population of this study by post. The 71 questionnaires from 235 ones (30.21 present) were responded and sent back to the researcher. The statistical methodology used in this study were percentage, and content analysis. The findings of the study were as follow: The ones who responded the questionnaire were mostly male and graduated in master degree level. Most of them government officials, or government employees and they were executive persons. Form the findings, it was discovered that 46 persons for 235 ones (64.79 percent) had used the researched on health insurance systems which were supported by Health Systems Research Institute (HSRI). The characteristics of the usage could be classified into 205 cases, 36 case, (17.56 percent) of the usage in policy making level; 98 cases (47.80 percent) of the usage in routine work level; and 71 cases (34.63 percent) of the usage in other fields. Considering the fields of the research usage, it was found that (1) There were 4 fields of the research usage in policy making level. Firstly. It was mostly used in financial field, secondly, in serving field, thirdly, in managing field, and fourthly, in making policy proposals, (2) There were 5 fields of the research usage in routine work level. Firstly, it was mostly used in financial field, secondly, in servicing field, thirdly, in managing field, fourthly, in human resource field, and fifthly, in consumer protecting and other fields of routine work. (3) There were 4 fields of the research usage in other fields. Firstly, it was mostly used in learning and teaching field, secondly in academic field and disseminating the information in the researches on printed academic news releases or newsletters, thirdly, in public policy making, and fourthly, in commercial policy making. And (4) There were 4 fields of the research usage in problems/obstacles, these were problems/obstacles in managing and organizing the researches, in managing Health System Research Institute (HSRI) itself, in research findings, and in research users themselves as well. en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข -- ทุนอุดหนุนการวิจัย en
dc.subject Health System Research Institute en
dc.subject ระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ en
dc.subject National health insurance en
dc.subject ประกันสุขภาพ -- ไทย -- วิจัย en
dc.subject Health insurance -- Thailand -- Research. en
dc.subject วิจัย -- การใช้ประโยชน์ en
dc.subject Research -- Utilization en
dc.subject Research grants en
dc.title การประเมินผลการนำผลงานวิจัยด้านระบบประกันสุขภาพที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขไปใช้ประโยชน์ en
dc.title.alternative The Evaluation of the Usage of the Researches on Health Insurance Systems Supported by Health Systems Research Institute (HSRI) en
dc.type Independent Studies en
dc.degree.name วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline การจัดการระบบสุขภาพ en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account