DSpace Repository

แนวทางการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่ชายขอบ ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก

Show simple item record

dc.contributor.author พัทธยาพร สังขรัตน์
dc.contributor.author กฤตวรรณ สาหร่าย
dc.contributor.author Patthayaporn Sangkarat
dc.contributor.author Kittawan Sarai
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare en
dc.date.accessioned 2024-12-03T05:46:04Z
dc.date.available 2024-12-03T05:46:04Z
dc.date.issued 2024
dc.identifier.citation วารสารคณะนิติศาสตร์ 15,1 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 52-67. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3335
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/271074/177916 en
dc.description.abstract การศึกษาแนวทางการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่ชายขอบ ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเข้าถึงสวัสดิการของผู้สูงอายุและแนวทางการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่ชายขอบ ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้สูงอายุในตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มีสิทธิ์เข้าถึงสวัสดิการด้านต่างๆ ร้อยละ 50 ซึ่งรวมถึงเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุการบริการส่งเสริมสุขภาพ และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ บางส่วนที่เข้าไม่ถึงสวัสดิการ ในประเด็นดังนี้ (1) การเดินทางของผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นพื้นที่ชายชอบและอยู่ห่างไกล จึงเป็นปัญหาต่อการเข้าถึงสวัสดิการ (2) ลักษณะของผู้สูงอายุ เกี่ยวข้องกับทัศนคติของผู้สูงอายุ ไม่ออกสู่สังคม บางคนมีภาวะสุขภาพ มีโรคประจำตัวทำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการสังคมของหน่วยงานของรัฐได้ (3) หน่วยงานภาครัฐ เจ้าหน้าที่ด้านสวัสดิการสังคมสำหรับการดูแลผู้สูงอายุมีไม่เพียงพอ (4) งบประมาณที่รัฐจัดสรรไม่เพียงพอต่อการจัดสวัสดิการ (2) แนวทางการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในพื้นที่ชายชอบ ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก สรุปได้ดังนี้ (1) การส่งเสริมผู้สูงอายุเป็นรายบุคคล การยอมรับ เห็นคุณค่า และส่งเสริมศักยภาพ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม การพัฒนาระบบการบริการดูแลที่มีคุณภาพ การสนับสนุนการทำงาน การให้บริการทางจิตวิทยา (2) การบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่หละ ด้านบุคลากร ต้องมีความรู้เข้าใจ ธรรมชาติชองผู้สูงอายุ เปิดให้อาสาสมัครมาเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ ด้านกระบวนการดำเนินการ ควรมีการวางแผนงานการดำเนินงาน สอดคล้องกับภาระงาน การนิเทศกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง การจัดสรรงบประมาณจากภาครัฐมีไม่เพียงพอ ควรจัดหาทุน เงินบริจาคจากภายนอก ด้านการเดินทางที่มีความยากลำบาก ควรจัดหางบประมาณด้านพาหนะรับส่งผู้สูงอายุ หรือการอำนวยความสะดวกด้านการเดินทาง หรือมีการจัดสรรงบประมาณจากองค์กรภาคเอกชนการสนับสนุน เป็นต้น en
dc.description.abstract A study of guidelines for providing social welfare for the elderly in marginal areas, Mae La Subdistrict, Tha Song Yang District, Tak Province. The objective is to study access to welfare for the elderly and guidelines for providing welfare for the elderly in marginal areas. , Mae La Subdistrict, Tha Song Yang District, Tak Province, is qualitative research using in-depth interviews. The results of the study found that 1) Access to the welfare of the elderly in Mae La Subdistrict, Tha Song Yang District, Tak Province, 50 percent of the elderly had access to various welfare benefits such as elderly living allowances, health promotion services, participation in various activities of regional agencies, government, but some elderly people do not have access to welfare in the following areas: (1) Traveling for the elderly because it is a marginal and remote area, therefor causing problems in accessing welfare (2) Characteristics of the elderly related to the attitude of the elderly, not going out into to socialize, some people having health conditions have a congenital disease that prevents them from accessing government social services. (3) Government agencies and social welfare officials for caring for the elderly are insufficient. (4) The budget allocated by the government is insufficient to provide welfare 2) Guidelines for providing welfare for the elderly in marginal areas, Mae La Subdistrict, Tha Song Yang District, Tak Province, can be summarized as follows: (1) Promoting the elderly individually, accepting them, appreciating them and promoting their potential, supporting them in health, housing and the environment, organizing social activity programs, creating opportunities for the elderly to have opportunities, to participate in social activities, develop a quality care service system, support work, provide psychological services, 2) Management of the Mae La Subdistrict Administrative Organization, personnel must know and understand the nature of the elderly, allowing volunteers to take care of the elderly, and operational processes. There should be work planning, operations consistent with the workload, continuous supervision, and monitoring, budget allocation from the government is insufficient, funding should be provided, external donations and difficult travel should be provided. Budget for transportation for the elderly of facilitation of travel of there is a budget allocation from organizations within the private sector for support, etc. en
dc.language.iso th en
dc.subject ผู้สูงอายุ – ไทย – ตาก en
dc.subject Older people – Thailand – Tak en
dc.subject การสงเคราะห์ผู้สูงอายุ en
dc.subject Old age assistance en
dc.subject สวัสดิการสังคม en
dc.subject บริการสังคม en
dc.subject Social service en
dc.subject แม่หละ (ตาก) en
dc.subject Mae La (Tak) en
dc.subject ชายขอบทางสังคม ไทย – ตาก en
dc.subject Marginality, Social – Thailand – Tak en
dc.title แนวทางการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่ชายขอบ ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก en
dc.title.alternative Guidelines for Organizing Social Welfare for the Elderly in the Border Regions, Mae La Sub-District, Tha Song Yang District, Tak Province en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account