dc.contributor.author |
บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข |
|
dc.contributor.author |
อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
Bunnasorn Techajumlernsuk |
|
dc.contributor.author |
Areewan Cheawchanwattana |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
en |
dc.contributor.other |
Khon Kaen University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
en |
dc.date.accessioned |
2025-01-04T08:14:28Z |
|
dc.date.available |
2025-01-04T08:14:28Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.citation |
ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ 17, 2 (เมย.–มิย. 2565) : 103-113 |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3454 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ :
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/pharm/article/view/14530/11761 |
en |
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์:เพื่อสำรวจความต้องการและทัศนคติในการศึกษาต่อและการอบรมเฉพาะทางของเภสัชกรโรงพยาบาลและปัจจัยที่เอื้อและถ่วงโอกาสในการศึกษาต่อ การศึกษา:การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่าง คือ เภสัชกรโรงพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ การสำรวจใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเองโดยถามความต้องการและรูปแบบการศึกษาต่อ และทัศนคติเกี่ยวกับการศึกษาต่อนำเสนอผลการศึกษาด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษา:มีผู้ตอบแบบสอบถาม 451 คน โดยมีเพียง 17.7% ที่เคยเรียนหรือฝึกความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ส่วนมากต้องการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรระยะสั้น (80.9%) ตามด้วยหลักสูตรเภสัชกรประจำบ้ําน (10.9%) ส่วนมากต้องการระยะเวลาในการศึกษาเพียง 4 เดือน (66.5%) ตามด้วย 6 เดือน (18.8%) ส่วนมากคิดว่าผู้อำนวยการโรงพยาบาลและหัวกลุ่มงานเภสัชกรรมมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์และวางแผนการส่งเภสัชกรไปศึกษาต่อ โรงพยาบาลส่วนใหญ่ไม่กำหนดให้จำนวนเภสัชกรที่ได้ศึกษาต่อเป็นตัวชี้วัดคุณภาพของโรงพยาบาล (88.5%) ปัจจัยที่สนับสนุนให้เภสัชกรตัดสินใจศึกษาต่อ ได้แก่ ต้องการเพิ่มพูนความรู้ ความเชี่ยวชาญ พัฒนาทักษะดูแลผู้ป่วย รายได้และตำแหน่งที่สูงขึ้น ส่วนปัจจัยถ่วงได้แก่ จำนวนเภสัชกรไม่เพียงพอที่จะอนุญาตให้ไปเรียน และขาดแคลนเงินทุนสนับสนุน เภสัชกรมีทัศนคติเชิงบวกต่อการศึกษาต่อผลการทดสอบความถดถอยโลจิสติก พบว่าเภสัชกรที่มีอายุงานน้อยกว่า 10ปี เคยเรียนเฉพาะทาง และมีทัศนคติทางบวกต่อการเรียนเฉพาะทางมีความต้องการการศึกษาต่อมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value < 0.05) สรุป:เภสัชกรโรงพยาบาลส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าการศึกษาต่อและการอบรมเฉพาะทางมีประโยชน์ โดยมีปัจจัยเอื้อหลายอย่าง ส่วนปัจจัยถ่วงมักเป็นผลจากการจัดสรรทรัพยากรมนุษย์ ความต้องการการศึกษาต่อสัมพันธ์อายุงานน้อย การเคยเรียนเฉพาะทาง และทัศนคติทางบวกต่อการเรียนเฉพาะทาง |
en |
dc.description.abstract |
Objective: To determine needs and attitudes of hospital pharmacists toward continuing specialty education and training and relevant factors including opportunities and obstacles to pursuing the education. Methods: In this cross-sectional descriptive study, participants were pharmacists from all-level hospitals under the Office of Permanent Secretary, Thailand Ministry of Public Health selected by a stratified sampling method. Aself-administered questionnaire asked about needs and types of specialty education, and attitudes towards the education. Decriptive statistics and logistic regress were used for data analysis. Results: Of the 451 participants, only 17.7% had an experience with training program. Most reported the need for the short-term certification program (80.9%), followed by general residency program (12.0%). Most preferred 4and 6 months of study (66.5%and 18.8%, respectively). Most participants thought that the hospital director and head of pharmacy department involved in the analysis and planning for pharmacist specialty education. Most also reported that hospitals did not use the number of pharmacists with specialty education as an indicator for hospital accreditation (88.5%).Factors supporting pursuing specialty education were the need for advanced knowledge, expertise, and skills for patient care, higher salary, and career advancement. Obstructive factors included a shortage of staff in the pharmacy department and a lack of financial support. Most participants had positive attitude toward the education. Logistic regression analysis revealed that those with less than 10 years of work experience, a history of specialty training, and positive attitude were significantly more likely to have a need for specialty education (P-value < 0.05). Conclusion: Most hospital pharmacists agreed that continuing specialty education and training was beneficial. Both supporting and obstructive factors were found. The need for continuing specialty education was associated with shorter work experience, a history of the training, and positive attitude toward the education. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
เภสัชกร |
en |
dc.subject |
Pharmacists |
en |
dc.subject |
ความต้องการการฝึกอบรม |
en |
dc.subject |
Training needs |
en |
dc.subject |
ทัศนคติ |
en |
dc.subject |
Attitude (Psychology) |
en |
dc.title |
ความต้องการและทัศนคติต่อการศึกษาต่อและฝึกอบรมเฉพาะทางของเภสัชกรโรงพยาบาลในประเทศไทย |
en |
dc.title.alternative |
Needs and Attitudes of Thai Hospital Pharmacistson Continuing Specialty Education and Training |
en |
dc.type |
Article |
en |