dc.contributor.author |
กนกอร พิเดช |
|
dc.contributor.author |
ฐานิตา พึ่งฉิ่ง |
|
dc.contributor.author |
ฉันท์ทิพย์ พลอยสุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
สิทธิศักดิ์ เครือพิมาย |
|
dc.contributor.author |
Kanokorn Pidet |
|
dc.contributor.author |
Tanita Puengching |
|
dc.contributor.author |
Chunthip Ploysuwan |
|
dc.contributor.author |
Sittisak Kreupimy |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Royal Thai Air Foree Nursing College |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.date.accessioned |
2025-01-11T07:50:14Z |
|
dc.date.available |
2025-01-11T07:50:14Z |
|
dc.date.issued |
2021 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3492 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติงาน และด้านการรับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมกับสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติงานห้องผ่าตัด และ 2) ศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยดังกล่าวต่อสมรรถนะการปฏิบัติพยาบาลของนีกศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติงานห้องผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ 2 และขึ้นฝึกปฏิบัติงานห้องผ่าตัดโรงพยาบาลแห่งหนึ่งสังกัดกรุงเทพมหานครในปีการศึกษา 2561 จำนวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาล และแบบประเมินสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษา ที่ขึ้นฝึกงานในห้องผ่าตัด เครื่องมือวิจัยได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ได้แก่ CVI เท่ากับ 0.85 และ 0.87 และตรวจสอบความเชื่อมั่น ได้สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.95 และ 0.70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป หาจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ปัจจัยทำนายของสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษา โดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยหพุคูณ (Stepwise Multiple Regression) ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลในห้องผ่าตัดโดยรวมอยู่ในระดับดี (X = 4.03, SD = 0.52) ปัจจัยด้านผู้เรียน ปัจจัยด้านผู้สอน ปัจจัยด้านระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.65, r=0.65, r=0.36, และ r=0.50, p<0.01 ตามลำดับ) และตัวแปรทั้งสามตัวสามารถทำนายสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษา ได้ร้อยละ 53.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.description.abstract |
The objective of this study 1) This study was to relationship between various factors such as learner factors, Teacher factors, teams of training, time factor and environmental perception factors on nursing performance competencies of nursing students practice in operating room. 2) This study for Predict factor on nursing performance competencies of nursing students practice in operating room room. The samples were third year students of the Faculty of Nursing Huachiew Chalermprakuet University. Which has been registered in the Adult Nursing Practicum 2 course and practice at a hospital under the Bangkok Metropolitan Administration in the academic year 2018, considering of 150 people. The instrument used in the research was a questionnaire consisting of Personal Information Questionnaire, Factors influencing nursing practice performance questionnaire and the nursing performance questionnaire. The instrument for research was tested for content validity with a CVI of 0.85 and 0,87 and reliability was checked Cronbach’s alpha of 0.95 and 0.70. The data were analyzed by using a computer program. To find the percentage, average, standard deviation analysis of predictive factors of nursing practice competences of students using statistics to analyze multiple regression. The results showed that the sample group has a high level of nursing practice competence in the operating room an average score of 4.03 percent (SD = 0,52), Another Factor such as teacher factors, terms of training time factor in nursing practice training and the percentage of environmental factors in the operating room. Which have a moderate positive relationship with the nursing practice competency of students. Statistical significance at the level of 095 (r=0.65, r=0.65, r=0.36, และ r=0.50, p<0.01 respectively) and all three variables could predict the nursing practice competences of the students at 53.30% with statistical significance at the level of .05. |
|
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีการศึกษา 2560 |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
พยาบาลห้องผ่าตัด |
en |
dc.subject |
Operating room nurses |
en |
dc.subject |
สมรรถนะ |
en |
dc.subject |
Performance |
en |
dc.subject |
นักศึกษาพยาบาล |
en |
dc.subject |
Nursing students |
en |
dc.title |
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติงานในห้องผ่าตัด |
en |
dc.title.alternative |
Factor Influencing Competencies of Nursing Students in the Operation Room |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |