การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สุขภาวะผู้สูงอายุด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ 2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม และสุขภาวะผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ใน ตําบลคลองตะเกรา อําาเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา จําานวน 350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบวัด 3 ชุด ได้แก่ (1) ทุนทางสังคม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.76 (2) ทุนทางวัฒนธรรม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86 และ (3) การส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) สุขภาวะของผู้สูงอายุอยู่ในระดับดีมาก (x̄=3.28, SD=1.29) โดยเฉพาะทางด้านร่างกายอยู่ในระดับดีมากกว่าสุภาวะด้านอื่น (x̄=3.93, SD=1.21) ทางด้านจิตวิญญาณหรือปัญญาอยู่ในระดับปานกลาง (x̄=2.60,SD=1.30) สําาหรับการใช้ทุนทางสังคมส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอยู่ในระดับปานกลาง (x̄=2.83, SD=1.31) ทุนทางวัฒนธรรมส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุได้ในระดับดีมาก (x̄=3.68, SD=1.28) 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน สรุปได้ว่า ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม และสุขภาวะผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สําาหรับข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยนี้ คือ การสร้างทุนทางสังคมด้านองค์กรให้เข้มแข็ง โดยใช้วัดเป็นศูนย์กลางของการจัดกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพของตนเองและบําาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
This research is a qualitative and quantitative research with the purpose of 1) analyzing the correlation between the health factors of the aging population which consists of physical health, mental health, social health, and spiritual health 2) analyze the social capital, cultural capital and well-being of the elderly. The research sample consisted of 350 senior citizens of Amphoe Thatakiap in Chachoengsao Province, Eastern Thailand. The research instruments implemented in this research were (1) the social capital scale, with a reliability coefficient (alpha) of 0.76 (2) the culture capital scale, with a reliability coefficient (alpha) of 0.86 and (3) the healthy aging promotion scale, with a reliability coefficient (alpha) of 0.84 The research findings were as the following: 1) Over all of health-related factors of the aging people was very good (x̄=3.28, SD=1.29), especially physical health was better than the remaining factors (x̄=3.93, SD=1.21), whereas, spiritual health was middle level. (x̄=2.60, SD=1.30) The social capital promotion healthy aging was middle level (x̄=2.83, SD=1.31). And culture capital was the highest promoted health of the aging (x̄=3.68, SD=1.28) 2) Conclusion of hypothesis Testing was that; social capital, cultural capital, and the healthy aging had a significant correlated at the .01. Further suggestions of this research include; establishing organizations in the social capital with stability and setting activities in temples as the center for promotion group of elderly in the community to increase potential development and social participation within the community