DSpace Repository

การเปรียบเทียบผลของ diclofenac phonophoresis กับการรักษาด้วยอัลตร้าซาวด์บําบัดต่อระดับกั้นของความรู้สึกปวดในอาสาสมัครสุขภาพดี คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author ยิ่งลักษณ์ วิรุณรัตนกิจ
dc.contributor.author เสาวณีย์ วรวุฒางกูร
dc.contributor.author Yingluk Wirunratanakij
dc.contributor.author Saowanee Woravutrangkul
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy en
dc.date.accessioned 2025-01-19T02:53:40Z
dc.date.available 2025-01-19T02:53:40Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบําบัด 28, 1 (มกราคม - เมษายน 2559) : 60-68. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3534
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/ams/article/view/66406/54379 en
dc.description.abstract โฟโนโฟรีสีส (phonophoresis) เป็นเทคนิคที่นิยมใช้ในการรักษาทางกายภาพบําบัด อย่างไรก็ตามยังไม่มีหลักฐานที่สนับสนุนประสิทธิภาพของการรักษาด้วยเทคนิคนี้ต่อการลดปวด นอกจากนี้ยังไม่พบการศึกษาที่แสดงถึงความแตกต่างระหว่างการทายา diclofenac ก่อนและหลังการรักษาร่วมกับเทคนิคดังกล่าว งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการรักษา 4 วิธีประกอบด้วยการรักษาด้วยเทคนิค phonophoresis ร่วมกับการทายา diclofenac ก่อนการรักษา (PH1) หลังการรักษา (PH2) การรักษาด้วยอัลตราซาวน์บําบัด (US) และการทายา diclofenac เพียงอย่างเดียว (placebo US) ต่อระดับกั้นของความรู้สึกปวด (pressure pain threshold : PPT) โดยทําการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มปกปิดสองทางและไขว้กลุ่มทดลองโดยเทียบกับการรักษาแบบหลอก (randomized, double-blind, placebo controlled cross-over trial design) ในอาสาสมัครสุขภาพดีจํานวน 40 คนอายุระหว่าง 18 - 25 ปี อาสาสมัครได้รับการรักษาแต่ละวิธีห่างกัน 1 สัปดาห์ตามลําดับจากการสุ่มประเมินผลโดยการวัดค่า PPT 3 ครั้ง คือก่อนการรักษาหลังการรักษาทันทีและหลังการรักษา 15 นาที ผลการศึกษาพบว่าค่า PPT ของกลุ่ม PH1 และ PH2 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ที่หลังการรักษา 15 นาทีนอกจากนี้กลุ่ม PH1 และ PH2 ยังมีค่า PPT ที่เพิ่มขึ้นหลังการรักษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) เมื่อเทียบกับกลุ่ม US และ placebo US แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม PH1 กับกลุ่ม PH2 ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการรักษาเทคนิคโฟโนโฟรีสีสด้วยยา diclofenac ให้ผลเพิ่มค่าระดับกั้นของความรู้สึกปวดอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับการรักษาด้วยอัลตราซาวด์บําบัดหรือการทายาเพียงอย่างเดียวโดยสามารถทายาได้ทั้งก่อนหรือหลังการรักษาในเทคนิคโฟโนโฟรีสีส en
dc.description.abstract Phonophoresis is a technique commonly used in physical therapy practice. However, evidence to support the effectiveness of this technique on pain relief is still unclear. In addition, there is no study about the difference between the application of diclofenac before and after phonophoresis technique. This study aimed to compare the effects of 4 treatments, including phonophoresis with the application of diclofenac before (PH1) and after (PH2) the treatment, ultrasound therapy (US), and placebo ultrasound therapy (placebo US) on pressure pain threshold (PPT). Forty healthy volunteers, age between 18 to 25 years old participated in this randomized, double-blind, placebo controlled cross-over trial study. Each participant received each treatment in a random order with a 1 week washout period. Participants were assessed for the levels of PPT 3 times which were before, immediately after and 15 minutes after the treatments. The results showed that the PPT was significantly increased in both PH1 and PH2 groups after treatment for 15 minutes (p<0.05).The increment of PPT after the treatments in PH1 and PH2 groups was significantly greater than the US and placebo US groups (p<0.01) However, there was no significant difference between the PH1 and PH2 groups. The finding indicate that diclofenac phonophoresis can increase PPT as compared to ultrasound therapy or using diclofenac only. Therefore therapists can apply diclofenac either before or after the phonophoresis treatment. en
dc.language.iso th en
dc.subject ไดโครฟีแนค en
dc.subject Diclofenac en
dc.subject โซโนโฟรีสีส en
dc.subject โฟโนโฟเรซิส en
dc.subject Phonophoresis en
dc.subject ความเจ็บปวด – การรักษา en
dc.subject Pain – Treatment en
dc.subject กายภาพบำบัด en
dc.subject Physical therapy en
dc.subject ระดับความรู้สึกกดเจ็บ en
dc.subject Pressure pain threshold en
dc.subject ค่าระดับการรับรู้ความเจ็บปวดด้วยแรงกด en
dc.subject อัลตราซาวด์ en
dc.subject คลื่นเหนือเสียง en
dc.subject Ultrasonic waves en
dc.title การเปรียบเทียบผลของ diclofenac phonophoresis กับการรักษาด้วยอัลตร้าซาวด์บําบัดต่อระดับกั้นของความรู้สึกปวดในอาสาสมัครสุขภาพดี คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.title.alternative Comparison the efficacy of diclofenac phonophoresis and ultrasound therapy on pressure pain threshold in healthy volunteer Faculty of Physical Therapy, Huachiew Chalermprakiet University en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account