DSpace Repository

การเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการจัดการตนเองแบบออนไลน์กับออฟไลน์ต่อความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ของข้าราชการรัฐสภาสามัญ สังกัดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิญญ์ทัญญู บุญทัน
dc.contributor.advisor Winthanyou Bunthan
dc.contributor.advisor กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม
dc.contributor.advisor Kamonthip Khungtumneum
dc.contributor.author อิษยา ชัยภัทรธาดา
dc.contributor.author Itsaya Chaiphattharatada
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2025-04-21T04:08:58Z
dc.date.available 2025-04-21T04:08:58Z
dc.date.issued 2024
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3806
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2567. en
dc.description.abstract การวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการจัดการตนเองแบบออนไลน์กับออฟไลน์ต่อความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ กลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ สังกัดส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมแบบออนไลน์25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับโปรแกรมแบบออฟไลน์ 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย โปรแกรมการจัดการตนเองแบบออนไลน์และออฟไลน์ แบบวัดความรู้การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ มีค่าสัมประสิทธิ์คูเดอร์ริชาร์ดสัน เท่ากับ .780 แบบประเมินความตระหนัก และแบบประเมินพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .955 และ .887 ตามล าดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและเปรียบเทียบความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมการป้องกันระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบด้วยสถิติ Mann-Whitney U testผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมแบบออนไลน์มีค่าเฉลี่ยคะแนนอันดับของความตระหนักและพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ แตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับโปรแกรมแบบออฟไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ค่าเฉลี่ยคะแนนอันดับของความรู้ของกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมแบบออนไลน์ไม่แตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับโปรแกรมแบบออฟไลน์ en
dc.description.abstract The quasi-experimental aim of the study was to evaluate the impact of bothonline and offline self-management programs on knowledge, awareness, andbehavior to prevent complications from uncontrolled high blood pressure. 44regulars of ordinary parliamentary official of the Secretariat of the House ofRepresentatives made up the sample group. They were split into two groups: anexperimental group of 25 individuals who participated in an online program, and acomparison group of 25 individuals who participated in an offline program. Researchtools were online and offline self-management programs and knowledge measuresfor preventing complications from uncontrolled high blood pressure .780 KuderRichardson coefficient. An awareness assessment and behavior to preventcomplications from uncontrolled high blood pressure questionnaire. The coefficientsof Cronbach's alpha were .955 and .887. Data were analyzed using descriptivestatistics and a comparison of knowledge, awareness, and prevention behaviorbetween the experimental group and the comparison group using Mann-Whitney U teststatistics. According to study findings, the experimental group that got the onlineprogram had a different mean rank of awareness and behavior to avoid problemsfrom uncontrolled high blood pressure than the group after the experiment, withstatistical significance at the .05 level. After the experiment, it was discovered thatthere was no difference in the mean rank of knowledge between the experimentalgroup that received the online program and the control group that received theoffline program. en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject โรคความดันโลหิตสูง en
dc.subject Hypertension en
dc.subject โรคหลอดเลือดสมอง en
dc.subject Cerebrovascular disease en
dc.subject ความดันเลือดสูง -- การรักษา en
dc.subject Hypertension -- Treatment en
dc.subject ความดันเลือดสูง -- การพยาบาล en
dc.subject Hypertension -- Nursing en
dc.title การเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการจัดการตนเองแบบออนไลน์กับออฟไลน์ต่อความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ของข้าราชการรัฐสภาสามัญ สังกัดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร en
dc.title.alternative Comparison of the Effect of Online and Offline Self-Management Programs on Knowledge, Awareness, and Behaviors for Preventing Complications From Uncontrolled Hypertension Ordinary Parliamentary Official of the Secretariat of the House of Representatives. en
dc.type Thesis en
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account