dc.contributor.author |
ฉัตร์แก้ว ละครชัย |
|
dc.contributor.author |
ดรุณวรรณ สมใจ |
|
dc.contributor.author |
Chatkaew Lachonchai |
|
dc.contributor.author |
Daruwan Somjai |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Graduate Student |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
en |
dc.date.accessioned |
2025-05-23T06:56:40Z |
|
dc.date.available |
2025-05-23T06:56:40Z |
|
dc.date.issued |
2016 |
|
dc.identifier.citation |
รายงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลการวิจัยระดับชาติและนานาชาติ กลุ่มระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2(6) 2559,173-187 |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3893 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ :
http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/5-02/article/view/243 |
en |
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาการจัดการความปลอดภัยในโรงพยาบาลและความสัมพันธ์กับอัตราความชุกของการเกิดอุบัติเหตุของพยาบาล กรณีศึกษา โรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร โดยประชากรกลุ่มเป้าหมาย คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม การศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 21-30 ปี และมีสถานภาพโสด ระดับการศึกษา ปริญญาโทเป็นส่วนมาก รายได้ส่วนมากเฉลี่ย 25,001 - 40,000 และปฏิบัติงานในกลุ่มงานวิชาการพยาบาล และมีประสบการณ์ไม่เกิน 1 ปี มากที่สุด การประเมินการจัดการความปลอดภัย พบว่า อยู่ในระดับมาก และอัตราความชุกของการเกิดอุบัติเหตุอยู่ในระดับน้อย การจัดการความปลอดภัย ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย ด้านการจัดการเครื่องมือและสาธารณูปโภค และด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและพิทักษ์สิ่งแวดล้อมความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย ในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากประสบการณ์การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน พบว่า อัตราความชุกของการได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน จากการการสัมผัสสิ่งก่อให้เกิดความเจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์จากการถูกเข็มทิ่มตำ สิ่งคัดหลั่งผู้ป่วยกระเด็นเข้าปาก หรือเข้าตา และสูดดม หรือสัมผัสรังสีระหว่างการปฏิบัติงาน ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความปลอดภัยกับอัตรา
ความชุกของการเกิดอุบัติเหตุของพยาบาล พบว่า มีความสัมพันธ์กันระดับตํ่า โดยมีความสัมพันธ์ระหว่าง ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและพิทักษ์สิ่งแวดล้อม กับอัตราความชุกของการเกิดอุบัติเหตุของพยาบาลในระดับตํ่า |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
en |
dc.subject |
อาชีวอนามัย |
en |
dc.subject |
Industrial hygiene |
en |
dc.subject |
โรงพยาบาล -- มาตรการความปลอดภัย |
en |
dc.subject |
Hospitals -- Security measures |
en |
dc.subject |
พยาบาล |
en |
dc.subject |
Nurses |
en |
dc.subject |
อุบัติเหตุ |
en |
dc.subject |
Accidents |
en |
dc.title |
การประเมินการจัดการความปลอดภัยในโรงพยาบาลและความสัมพันธ์กับอัตราความชุกของการเกิดอุบัติการของพยาบาล กรณีศึกษาโรงพยาบาลแห่งหนึ่งใน กทม. |
en |
dc.type |
Article |
en |