dc.contributor.advisor |
กนกพร นทีธนสมบัติ |
|
dc.contributor.advisor |
ทวีศักดิ์ กสิผล |
|
dc.contributor.advisor |
Kanokporn Nateetanasombat |
|
dc.contributor.advisor |
Taweesak Kasiphol |
|
dc.contributor.author |
นพาภรณ์ จันทร์ศรี |
|
dc.contributor.author |
Napaporn Chansree |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-07T13:49:18Z |
|
dc.date.available |
2022-06-07T13:49:18Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/391 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2563 |
th |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยพัฒนาโปรแกรมมาจากแนวคิดการจัดการตนเองของ แคนเฟอร์ และแกลิค-บายส์ (Kanfer. F.H. & Gaelick-Buys, L. 1991) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป้ง 2 และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 40 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละเท่า ๆ กัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ และกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการรักษาพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ และคู่มือการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟ่า ได้ค่าเท่ากับ .08 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ T-test ผลการศึกษา พบว่าภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมสุขภาพมากว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <.001 ค่าเฉลี่ยระดับความดันโลหิตไม่ได้ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมสุขภาพมากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <.001 ค่าเฉลี่ยระดับความดันชีวโตลิคและค่าเฉลี่ยระดับความดันไดแอสโตลิค หลังทดลองต่ำกว่าก่อนทดลอง และต่ำหว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <.001 |
th |
dc.description.abstract |
This research was a quasi-experimental research, which aimed to study the effects of self-management programs among uncontrolled hypertensive patients by devloping the program based on the self-management concept of Kanfer, F.H. & Gaelick=Buys, L. (1991). The sample was controlled hypertensive patients, who had received the health services from Ban Paeng 2 Sub-District Health Promoting Hospital and Talat Kriap Sub-District Hospital, Bang Pa-in District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. The purposive sample had been used as the selected sample method. The samples were 40 subjects, which werr equally divided into the experimental group and the comparison group. The experimental group received a self-management program among uncontrolles hypertensive patients for eight weeks and the comparison group received medical care as usual. The instruments used for data collection were health behaviors questionnaires in uncontrolled hypertensive patients and self-management handbook in uncontrolles hypertensive patients. These instruments had been examined by three experts. The Cronbach Alpha coefficient was 0.80. Data was analyzed by descriptive statistics, which were frequency, percentage, mean, standard deviation and T-test. The results of the study showed that after receiving the self-management program among uncontrolles hypertensive patients the experimental group had higher mean on health behavior score than before receiving the program and more than the comparison group at statistically significant <.001. Mean of diastolic blood pressure level and mean of systolic blood pressure level after experiment were lower than before experiment and had lower than the comparison group at statistically significance <.001. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
พฤติกรรมสุขภาพ |
th |
dc.subject |
Health behavior |
th |
dc.subject |
ความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย |
th |
dc.subject |
Hypertension -- Patients |
th |
dc.subject |
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง |
|
dc.subject |
Self-care, Health |
|
dc.title |
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ |
th |
dc.title.alternative |
Effects of Self Management Program among Uncontrolled Hypertensive Patients |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน |
th |