dc.contributor.advisor |
ทวีศักดิ์ กสิผล |
|
dc.contributor.advisor |
กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม |
|
dc.contributor.advisor |
Taweesak Kasiphol |
|
dc.contributor.advisor |
Kamonthip Khungtumneum |
|
dc.contributor.author |
ชลทิชา รักษาธรรม |
|
dc.contributor.author |
Chonthicha Raksatham |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-10T02:38:14Z |
|
dc.date.available |
2022-06-10T02:38:14Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/407 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561 |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดอย่างต่อเนื่อง โดยใช้รูปแบบการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของชูคัพ สืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทำการสังเคราะห์งานวิจัยเพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติฯ กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 30 สัปดาห์ ถึง 36 สัปดาห์ วินิจัยมีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และเข้ารับการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดที่ห้องคลอด โรงพยาบาลสมุทรปราการ จำนวน 30 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Indenpendent t test ผลการศึกษา พบว่า 1) แนวปฏิบัติฯ ที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการประเมินความเสี่ยง ขั้นการพยาบาลในห้องคลอดและวางแผนการจำหน่าย และขั้นการติดตามดูแลต่อเนื่อง 2) ผลของการนำใช้แนวปฏิบัติฯ พบว่า 2.1) กลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติฯ มีคะแนนพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดอย่างต่อเนื่องไม่แตกต่างจากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ 2.2) กลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติฯ มีอัตรากลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 20 และ คลอด ร้อยละ 33.3 ส่วนกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติมีอัตราการกลับมาเป็นซ้ำ ร้อยละ 40 และคลอด ร้อยละ 100 และ 2.3) กลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติฯ สามารถตั้งครรภ์ได้ครบกำหนด (อายุครรภ์คลอดเฉลี่ย 38 สัปดาห์) แตกต่างจากกลุ่มที่ได้รับการดูแลปกติ (อายุครรภ์คลอดเฉลี่ย 36 สัปดาห์) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 |
th |
dc.description.abstract |
This study aims to developed and used practiced guideline for continuing care of pregnant women with preterm labor. The model of evidence base practice of Soukup was practices guideline for searching related researches. These researches were synthesized in order to develop it. The sample is pregnant women with gestational age from 30 to 36 weeks. There are thirty pregnant women who were diagnosed with preterm labor at Labor Room, in Samutprakan Hospital. Data were analyzed using independent test. The results of the study revealed that : 1) the practiced guideline for continuing care of pregnant women with preterm labor was composed of three step. The first step was the risk assessment stage. The second step were nursing care in the labor room and discharge plan and the last step was continuous care. 2) The results of try out this guideline can be derided three issues. 2.2) The group using the guideline had 20 percent of a recurrence rate and 33.3 percent of delivery. Group was normal earning of this hospital has 40 percent of a recurrence and 100 percent of delivery. 2.3) The group using the guideline had a higher mean gestational age at term delivery (38 weeks) were statically significant 0.05 than the group using normal earning of this hospital (36 weeks) |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
การคลอดก่อนกำหนด |
th |
dc.subject |
Premature labor |
th |
dc.subject |
ความเจ็บปวด |
th |
dc.subject |
Pain |
th |
dc.subject |
การตั้งครรภ์ |
th |
dc.subject |
Pregnancy |
th |
dc.title |
แนวปฏิบัติการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดอย่างต่อเนื่อง |
th |
dc.title.alternative |
Practiced Guideline for Continuing Care of Pregnant Women with Preterm Labor |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน |
th |