DSpace Repository

การศึกษาประสิทธิภาพการบ้าบัดน้าเสียปนเปื้อนสีสังเคราะห์จากโรงงานฟอกย้อม โดยใช้ระบบเยื่อกรองชีวภาพร่วมกับถ่านกัมมันต์

Show simple item record

dc.contributor.advisor เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์
dc.contributor.advisor Thirdpong Srisukphun
dc.contributor.author สุภาภรณ์ ทิวาวรรณ์
dc.contributor.author Supaporn Tiwawan
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health
dc.date.accessioned 2022-06-19T04:46:19Z
dc.date.available 2022-06-19T04:46:19Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/440
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558. th
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยใช้น้ำเสียสังเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายน้ำเสียจากโรงงานฟอกย้อม และใช้ชุดทดลองระดับห้องปฏิบัติการ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างระบบ MBR และ MBR-PAC รวมถึงเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างการเติม PAC แบบเติมครั้งเดียวและแบบต่อเนื่อง โดยทำการทดลอง 6 ชุดการทดลอง ได้แก่ 1) ไม่เติม PAC 2) เติม PAC แบบเดิมครั้งเดียวความเข้มข้น 1,000 mg/L 3) เติม PAC แบบเติมครั้งเดียว ความเข้มข้น 2,000 mg/L 4) ทำการเติม PAC แบบต่อเนื่องโดยควบคุมอายะ PAC เท่ากับ 100 วัน 5) ทำการเติม PAC แบบต่อเนื่องโดยควบคุมอายุ PAC เท่ากับ 50 วัน 6) ทำการเติม PAC แบบต่อเนื่องโดยควบคุมอายุ PAC เท่ากับ 25 วัน สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ การเติม PAC ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัด COD เมื่อเปรียบเทียบระหว่างระบบ MBR และ MBR-PAC เติม 1,000 และ 2,000 mg/L พบว่าประสิทธิภาพการบำบัด COD เท่ากับ 87.42 (± 9.14%, 91,23 (±3.41)% และ 96.51 (±1.59) ตามลำดับ สำหรับการบำบัดสีในการเดินระบบระยะยาวพบว่า การเติม PAC 2,000 mg/L มีประสิทธิภาพ 74.99 (±6.04)% ซึ่งสูงกว่ากรณีเติม PAC 1,000 mg/L และระบบ MBR ที่มีประสิทธิภาพ 52.11 (±6.94)% และ 47.61 (±8.40)% ตามลำดับ การเติม PAC แบบต่อเนื่องโดยควบคุมอายุ PAC เท่ากับ 100, 50 และ 25 วัน ไม่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดเมื่อเปรียบเทียบกับการเติม PAC แบบครั้งเดียว th
dc.description.abstract This experimental research is focusing on 1) the comparison of treatment efficiency between MBR and MBR-PAC and 2) the comparison of treatment efficiency between batch dose and continuous dose. The lab-scale experimental unit and synthetic textile wastewater were applied. The experimental conditions consists of 1) MBR without PAC added, 2) MBR-PAC where PAC concentration of 1,000 mg/L was added, 3) MBR-PAC where PAC concentration of 2,000 mg/L was added, 4) PAC was continuously dosed into the reactor with PAC age of 100 days (PAC concentration of 2,000 mg/L), 5) PAC was continuously dosed into the reactor with PAC age of 50 days (PAC concentration of 2,000 mg/L) and 6) PAC was continuously dosed into the reactor with PAC age of 25 days (PAC concentration of 2,000 mg/L). It was found that, the addition of PAC improved COD removal effieicncy. In case of MBR, MBR-PAC (1,000 mg/L) and MBR-PAC (2,000 mg/L), the treatment efficiency were 87.42 (± 9.14%, 91,23 (±3.41)% and 96.51 (±1.59), respectively. Moreover, in long-term, MBR-PAC (2,000 mg/L) performer higher color removal efficiency than MBR-PAC (1,000 mg/L) and MBR. The coolr removel efficiency were 87.42 (± 9.14%, 91,23 (±3.41)% และ 96.51 (±1.59) , 52.11 (±6.94) and 47.61 (±8.40)%. In case of continuous dose with PAC age of 100, 50 and 25 days, the treatment efficiency was similar to the case of MBR-PAC (2,000 mg/L). th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject คาร์บอนกัมมันต์ th
dc.subject Carbon, Activated th
dc.subject น้ำเสีย -- การบำบัด --วิธีทางชีวภาพ th
dc.subject Sewage -- Purification -- Biological treatment th
dc.subject อุตสาหกรรมฟอกย้อม th
dc.subject Textile industry th
dc.subject เครื่องปฏิกรณ์แบบเยื่อแผ่น th
dc.subject Membrane reactors th
dc.subject น้ำเสีย – การบำบัด – การกำจัดสี
dc.subject Sewage -- Purification -- Color removal
dc.subject ระบบเยื่อกรองชีวภาพ
dc.subject Membrane bioreactors
dc.title การศึกษาประสิทธิภาพการบ้าบัดน้าเสียปนเปื้อนสีสังเคราะห์จากโรงงานฟอกย้อม โดยใช้ระบบเยื่อกรองชีวภาพร่วมกับถ่านกัมมันต์ th
dc.title.alternative Study on Treatment Eficiency of Textile Wastewater Containing Synthetic Dye Using Membrane Bioreactor Couple with Activated Carbon th
dc.type Thesis th
dc.degree.name วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account