dc.contributor.advisor |
นุชนาถ แช่มช้อย |
|
dc.contributor.advisor |
สมพงษ์ โอทอง |
|
dc.contributor.advisor |
Nutchanat Chamchoi |
|
dc.contributor.advisor |
Sompong O-thong |
|
dc.contributor.author |
ศศิธร นนทา |
|
dc.contributor.author |
Sasithorn Nonta |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-19T05:18:46Z |
|
dc.date.available |
2022-06-19T05:18:46Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/443 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558. |
th |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะและปริมาณผลผลิตกรดแลคติกจากการหมักเศษผลไม้แบบไร้อากาศด้วยแบคทีเรีย Lactobacillus plantarum สายพันธุ์ TISTR 926 โดยการศึกษาแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ศึกษาปริมาณผลผลิตกรดแลคติกจากกระบวนการหมักเศษผลไม้แบบไร้อากาศ โดยใช้เศษผลไม้ 3 ชนิด ได้แก่ เปลือกแตงโม ซังขนุนและแกนสับปะรด ส่วนที่ 2 เป็นการศึกษาสภาวะที่มีผลต่อปริมาณผลผลิตกรดแลคติกที่ได้จากการหมัก ได้แก่ ผลของค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้น และอุณหภูมิที่ใช้ในการหมัก จากผลการทดลอง พบว่า ผลผลิตกรดแลคติกทีได้จากการหมักเปลือกแตงโม ซังขนุน และแกนสับปะรด มีค่า 26, 57 และ 56 kg/ton wt substrate โดยมีค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้น เท่ากับ 4.74, 6.81 และ 7.02 ตามลำดับ ภายใต้อุณหภูมิการหมัก 35°C เช่นเดียวกัน ผลผลิตกรดแลคติกปริมาณสูงที่สุดจากการหมักแกนสับปะรดใช้ระยะเวลาหมักเพียง 2 วัน ในขณะที่เปลือกแตงโมและซังขนุนให้ผลผลิตสูงที่สุดจากการหมักนานกว่า คือ 4 วัน เมื่อคำนวณค่าผลผลิตจำเพาะสูงสุดของกรดแลคติกที่ได้จากการทดลอง พบว่า มีค่าใกล้เคียงกัน โดยมีค่าเท่ากับ 388, 367 และ 398 kg/ton VS สำหรับการหมักเปลือกแตงโม ซังขนุน และแกนสับปะรด ภายใต้อุณหภูมิการหมัก 35°C ตามลำดับ ซึ่งจากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการหมักกรดแลคติกแบบไร้อากาศ ได้แก่ อุณหภูมิการหมัก 35°C และค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้น 4.74, 6.81 และ 7.02 สำหรับเปลือกแตงโม ซังขนุน และแกนสับปะรด ตามลำดับ |
th |
dc.description.abstract |
This research is an experimental research. The purpose of the research was to study the anaerobic fermentation conditions and lactic acid production from fruit waste using lactobacillus bacteria. The study consisted of two parts such as 1) the study of lactis acid production under anaerobis fermentation of three kinds of fruit wastes such as watermelon shell, jack fruit fiber, and pineapple core. Part 2 was to study the conditions affecting to lactid acid production from the fermentation included the effect from initial pH fermented temperature. From the results, it was found that the lactic acid production from the fermentation of watermelon shell, jack fruit fiber, and pineapple core of 26, 57, and 56 kg/ton wt substrate were obtained under the same fermented temperature of 35°C with the initial pH of 4.74, 6.81, and 7.02, respectively. The maximum lactic acid production from pineapple core fermentation was achieved within only two days. While, the maximum production from watermelon shell and jack fruit fiber were achieved longer time within four days. The calculation of maximum specific yield of the obtained lactic acis from the experiment showed almost the same amounts such as 388, 367, and 398 kg/ton VS for the watermelon shell, jack fruit fiber, and pineapple core under the fermented temperature of 35°C, respectively. The results indicated that the appropriated conditions for anaerobic fermentation of lactic acid included the fermented temperature of 35°C and the initial pH of 4.74, 6.81, and 7.02 for the watermelon shell, jack fruit fiber, and pineapple core, respectively. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ผลไม้ -- การหมัก |
th |
dc.subject |
ของเสียทางการเกษตร |
th |
dc.subject |
Agricultural wastes |
th |
dc.subject |
การหมัก |
th |
dc.subject |
Fermentation |
th |
dc.subject |
กรดแลคติก |
th |
dc.subject |
Lactic acid |
th |
dc.title |
ผลผลิตกรดแลคติกจากกระบวนการหมักเศษผลไม้ |
th |
dc.title.alternative |
Lactic Acid Production from Fruit Waste Fermentation |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย |
th |