dc.contributor.advisor |
วรางคณา วิเศษมณี ลี |
|
dc.contributor.advisor |
Varangkana Visesmanee Lee |
|
dc.contributor.author |
ธนาพร มณีรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
Tanaporn Maneerat |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-19T14:13:13Z |
|
dc.date.available |
2022-06-19T14:13:13Z |
|
dc.date.issued |
2017 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/445 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2560. |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้มข้นของโลหะหนักที่สะสมในฝุ่นละอองรวม (Total Suspended Particulate Matter) และประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพโดยผ่านทางระบบ การหายใจจากการจราจรในพื้นที่บริเวณริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 18 ในช่วงเวลาระหว่าง 08.00 - 16.00 น. โดยทำการตรวจวัดความเข้มข้นของโลหะที่สะสมในฝุ่นละอองทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ แคดเมียม (Cd), เหล็ก (Fe), โครเมียม (Cr), ตะกั่ว (Pb), แมงกานีส (Mn) และสังกะสี (Zn) ซึ่งวิเคราะห์ด้วยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer โดยการใช้เทคนิค Graphite Furnace ผลการศึกษาพบว่า ความเข้มข้นของโลหะหนักที่มีปริมาณสูงสุด คือ สังกะสี โดยมีความเข้มข้นเฉลี่ย 0.18063 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และโลหะหนักที่มีความเข้มข้นน้อยที่สุด คือ ตะกั่ว โดยมีความเข้มข้นเฉลี่ย 0.00164 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อย่างไรก็ตาม เมื่อนำความเข้มข้นของโลหะทั้งหมดไปเปรียบเทียบกับค่าอ้างอิงทางสุขภาพ พบว่า มีโลหะบางชนิดที่มีค่าเกินค่าอ้างอิง คือ โครเมียม แคดเมียม และแมงกานีส แต่เมื่อทำการประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสทางการหายใจ โดยประเมินจาก เพศ อายุ และกิจกรรม พบว่ามีเพียงแคดเมียมที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงทางสุขภาพ สำหรับการศึกษาความสัมพันธ์ พบว่าตะกั่วและสังกะสีในฝุ่นละอองรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |
th |
dc.description.abstract |
This study was conducted to investigate heavy metal concentrations accumulated in total suspended particulate matter and assess the health risks through the breathing system from the traffic in the area of highway number 34 (Bangna - Trad Road) at around kilometers 18 during the daytime between 08.00 am. – 16.00 am. Six types of heavy metals were measured their concentrations which accumulated in total suspended particulate matter ; there were Cadmium (Cd), Iron (Fe), Chromium (Cr), Lead (Pb), Manganese (Mn) and Zinc (Zn) were analyzed by Atomic Absorption Spectrophotometer by using the graphite furnace technique. The results of this study found that the maximum concentrations of these heavy metals was zinc with the average concentration were found to be 0.18063 mg/m3; while the minimum heavy metal concentration was Lead with the average concentration were found to be 0.00164 mg/m3. However when the concentrations of heavy metals were compared with the reference concentration for health found that some metals that exceeded than the reference concentration , which were Chromium, Cadmium and Manganese. However, when assessing the risk of exposure by inhalation, assessed by sex, age, and activity, there is only cadmium that pose a health risk. It what for that lead and zinc in total suspended particulate matter were significantly correlated deposition in total suspended particulate matter |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
โลหะหนัก |
th |
dc.subject |
Heavy metals |
th |
dc.subject |
ฝุ่น |
th |
dc.subject |
Dust |
th |
dc.subject |
มลพิษทางอากาศ |
th |
dc.subject |
Air -- Pollution |
th |
dc.subject |
การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
th |
dc.subject |
Health risk assessment |
th |
dc.title |
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ กรณีรับสัมผัสโลหะหนักในฝุ่นละอองจากการจราจรริมถนนบางนา-ตราด |
th |
dc.title.alternative |
Health Risk Assessment in Case of Heavy Metal Exposure Contaminated in Particulate Matter from Traffic along Bangna-Trad Road. |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย |
th |