dc.contributor.advisor |
วรางคณา วิเศษมณี ลี |
|
dc.contributor.advisor |
Varangkana Visesmanee Lee |
|
dc.contributor.author |
พนมพร มีธรรม |
|
dc.contributor.author |
Panomporn Meetham |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-20T04:01:33Z |
|
dc.date.available |
2022-06-20T04:01:33Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/447 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558. |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณโครเมียมในน้ำ ตะกอนดิน และผักกระเฉด มีวัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อศึกษาการปนเปื้อนโครเมียมในน้ำ ตะกอนดิน และผักกระเฉด และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณโครเมียมในน้ำ ตะกอนดิน และผักกระเฉด รวมทั้งประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคผักกระเฉด ผลการศึกษา พบว่า การปนเปื้อนโครเมียมในน้ำพบน้อยกว่าการปนเปื้อนในตะกอนดิจ โดยตัวอย่างทั้งหมดมีปริมาณการปนเปื้อนไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด กล่าวคือ โครเมียมในน้ำ ตะกอนดิน และผักกระเฉด มีความเข้มข้นอยู่ในช่วง 0.004-0.009 มิลลิกรมต่อลิตร 5.160-11.574 และ 0.453-1.918 มิลลิกรมต่อกิโลกรม ตามลำดับ สำหรับการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมษรโครเมียมในน้ำ ตะกอนดิน และผักกระเฉด พบว่า ปริมาณโครเมียมในน้ำและตะกอนดินมีความสัมพันธ์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และการประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคผักกระเฉด (ส่วนที่บริโภคได้) พบว่า ไม่มีความเสี่ยงจากการบริโภคผักกระเฉด ซึ่งจากผลการประเมินความเสี่ยง PTM มีค่าเท่ากับ 0.001 และ 0.45 กิโลกรัมต่อวัน สำหรับเฮกซะวาเลนต์โครเมียม และไตรวาเลนต์โครเมียม ตามลำดับ |
th |
dc.description.abstract |
The objectives of the research were to study contamination and relationship of Chromium in the water, sediment and water mimosa including risk assessment of water mimosa consumption. The results found that Chromium contamination in water were less than the Chromium in the sediment. However, Chromium contamination did not exceed the required standards. The chromium concentration in water sediment and water mimosa were found in the range of 0.004-0.009 mg/L, 5.160-11.574 mg/kg and 0.453-1.918 mg/kg respectively. The study of the relationship found that the amount of chromium in the water and sediment are related with statistical significance (p<0.05). In addition, the risk assessment of water mimosa consumption (edible part) found that there is no risk from water mimosa consuming; while the PTWI equals to 0.001 and 0.45 Kg/d for chromium (VI) and chromium (III), respectively. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
น้ำ -- การปนเปื้อน |
th |
dc.subject |
Water -- Contamination |
th |
dc.subject |
โครเมียม |
th |
dc.subject |
Chromium |
th |
dc.subject |
มลพิษทางน้ำ |
th |
dc.subject |
Water -- Pollution |
th |
dc.subject |
ผักกระเฉด |
th |
dc.subject |
Water Mimosa |
th |
dc.subject |
ตะกอนดิน |
th |
dc.subject |
Sediment |
th |
dc.subject |
การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
th |
dc.subject |
Health risk assessment |
th |
dc.title |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณโครเมียมในน้ำ ตะกอนดินและผักกระเฉด |
th |
dc.title.alternative |
Relationship of Chromium Concentration in Water, Sediment and Water Mimosa. |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย |
th |