dc.contributor.advisor |
เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์ |
|
dc.contributor.advisor |
Thirdpong Srisukphun |
|
dc.contributor.author |
มิตรชัย รัตนวงศ์ |
|
dc.contributor.author |
Mitchai Rattanawong |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-20T05:52:05Z |
|
dc.date.available |
2022-06-20T05:52:05Z |
|
dc.date.issued |
2017 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/449 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2560. |
th |
dc.description.abstract |
งานวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณตะกรันของเตาอุ่นน้ำเหล็ก Ladle furnace slag (LFS) ที่เหมาะสมมาใช้ทดแทนปูนซีเมนต์ทรายและหินในการผลิต คอนกรีตผสมเสร็จ ผู้วิจัยได้ใช้ LFS แทนปูนซีเมนต์ทรายและหินในสัดส่วนร้อยละ 25, 50 และ 75 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร โดยได้ทำการทดลองซ้ำทั้งหมด 3 ครั้ง จากผลการทดลองพบว่าในกรณีที่ใช้ LFS ทดแทนปูนซีเมนต์ จะสามารถทดแทนได้ 75 กก. สำหรับการผลิตคอนกรีต 1 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งสามารถรับกำลังอัดเฉลี่ยได้เท่ากับ 168.56 กก./ตร.ซม. (เวลาบ่มคอนกรีต 28 วัน) และสามารถลดต้นทุนการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จลงได้ 16.40 % สำหรับ กรณีที่ใช้ LFS ทดแทนทราย พบว่า ในการผลิตคอนกรีต 1 ลบ.ม. สามารถใช้ LFS แทนส่วนผสมของ ทรายได้ 156 กก. และ 312 กก. โดยสามารถรับกำลังอัดเฉลี่ยได้ 160.64 กก./ตร.ซม. และ 179.53 กก./ตร.ซม. (เวลาบ่มคอนกรีต 28 วัน) จากส่วนผสมนี้จะทำให้สามารถลดต้นทุนการผลิตคอนกรีต ผสมเสร็จลงได้ 12.48 % และ 24.96 % และสำหรับในกรณีที่ใช้ LFS ทดแทนหิน พบว่า ทุกส่วนผสม มีกำลังรับแรงอัดต่ำมาก |
th |
dc.description.abstract |
The objectives of this experimental research is studying of the appropriate proportions among cement, sand, rock and ladle furnace slag (LFS) for preparation of ready mixed concrete. LFS was substituted with cement sand and rock with the properties of 25,50 and 75% weight by volume. The triplicate experiment was applied. According to the result, it found that in case that cement was substituted by LFS, it was found that the acceptable content of LFS was 75 Kg per 1 m3 of the ready mixed concrete. The average strengths of concrete were 160.64 ksc and 179.53 ksc (curing time of 28 days) respectively. The costs of ready mixed concrete were decreased by 12.46 and 24.96%. In case that rock was substituted by LFS, all of proportions performed strength too low. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
คอนกรีตผสมเสร็จ |
th |
dc.subject |
Ready-mixed concrete |
th |
dc.subject |
ของเสียจากโรงงาน -- การนำกลับมาใช้ใหม่ |
th |
dc.subject |
Factory and trade waste -- Recycling |
th |
dc.subject |
ตะกรัน |
th |
dc.subject |
Fouling |
th |
dc.subject |
เตาอุ่นน้ำเหล็ก |
th |
dc.subject |
Ladle furnace slag |
th |
dc.subject |
เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน |
|
dc.subject |
Hot rolled steel sheet |
|
dc.title |
การศึกษาศักยภาพการนำตะกรันของเตาอุ่นน้ำเหล็กจากกระบวนการผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ |
th |
dc.title.alternative |
Study of Recycling Potential of Ladle Furnace Slag (LFS) from Production Process of Hot Rolled Coil Steel |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย |
th |