dc.contributor.advisor |
วรางคณา วิเศษมณี ลี |
|
dc.contributor.advisor |
Varangkana Visesmanee Lee |
|
dc.contributor.author |
วารุณี พันธ์วงศ์ |
|
dc.contributor.author |
Warunee Phanwong |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-20T06:14:41Z |
|
dc.date.available |
2022-06-20T06:14:41Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/450 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558 |
th |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปริมาณสารตะกั่วในเลือดของพนักงานโรงงานผลิตอะไหล่รถยนต์แห่งหนึ่งจังหวัดสมุทรปราการ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และผลการตรวจปริมาณสารตะกั่วในเลือดในรายงานผลการตรวจสุขภาพประจำปี รายบุคคลของพนักงานฝ่ายผลิต จำนวน 170 คน ผลการศึกษาพบว่าพนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-40 ปี สถานภาพสมรสแล้ว ระดับการศึกษา คือ ประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอนต้น มีอายุงาน 1-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคพิษตะกั่วอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อทดสอบความแตกต่างพบว่า เพศชาย และ เพศหญิง มีปริมาณสารตะกั่วในเลือดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอายุสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และอายุงาน มีปริมาณสารตะกั่วในเลือด ไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้ เมื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากสารตะกั่วและพฤติกรรมด้านความปลอดภัยกับปริมาณสารตะกั่วในเลือด พบว่าไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติ |
th |
dc.description.abstract |
This research was conducted to study factors relating to lead concentration in blood by using questionnaire and annual physical examination report. The study population was 170 workers in an auto part manufacturing company in Samutprakarn province. The results found that the most of sample was 31-40 years old and married female. Most of them graduated in primary and secondary school which had working experience of 1-5 years. The knowledge of lead poisoning was found in moderate level and blood lead concentration was significantly different at 0.05 statistical level among sex ; while age, married status, education level and working experience were not significantly different. In addition, the statistical testing for relationship between lead poisoning knowledge and blood lead concentration did not related refer to statistical testing at 0.05 level. Moreover, the relationship between lean poisoning knowledge and safety behavior with lead in blood concentration found that there are no statistical relationship. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ตะกั่วเป็นพิษ |
th |
dc.subject |
Lead poisoning |
th |
dc.subject |
Lead -- Toxicology |
th |
dc.subject |
ตะกั่ว -- พิษวิทยา |
th |
dc.subject |
โรคเกิดจากอาชีพ |
th |
dc.subject |
Occupational diseases |
th |
dc.subject |
โรงงานผลิตอะไหล่รถยนต์ -- ไทย -- สมุทรปราการ |
th |
dc.title |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปริมาณสารตะกั่วในเลือด : กรณีศึกษาโรงงานผลิตอะไหล่รถยนต์ จังหวัดสมุทรปราการ |
th |
dc.title.alternative |
Factors Related to Lead Concentration in Blood : A Case Study of Auto Part Manufacturing Company, Samutprakarn Province |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย |
th |