Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรุ่งฤดี รัตนวิไล-
dc.contributor.authorสถาพร ปิ่นเจริญ-
dc.contributor.authorลั่นทม จอนจวบทรง-
dc.contributor.authorRungrudee Rattanawilai-
dc.contributor.authorSathaporn Pincharoan-
dc.contributor.authorLanthom Jonjoubsong-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2023-01-06T13:49:30Z-
dc.date.available2023-01-06T13:49:30Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1028-
dc.description.abstractการใช้ประโยชน์และมูลค่าทางเศรษฐกิจของผักพื้นบ้าน ในตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา 1001890036 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ประโยชน์โดยตรงจากผักพื้นบ้านตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) ประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจของผักพื้นบ้าน ในตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ เกษตรกรท้ังหมดที่ปลูกผักพื้นบ้านและนำผลผลิตส่งเข้ากลุ่มเกษตรอินทรีย์ ในเขตพื้นที่ตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา จนวน 87 ครัวเรือน ที่ใช้ประโยชน์โดยตรงจากผักพื้นบ้าน จำนวน 155 ชนิดพืช เพื่อการบริโภคภายในครัวเรือนเพื่อขายโดยส่งเข้ากลุ่มและเพื่อผลิตเป็นผลผลิตต่อเนื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการสร้างข้อสรุปจากการสัมภาษณ์ สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นหญิง มีอายุระหว่าง 41-60 ปี สมาชิกในครัวเรือนจำนวน 4-6 คน พื้นที่ทำการเกษตร จำนวน 1-15 ไร่ การใช้ประโยชน์โดยตรงจากผักพื้นบ้านแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ เพื่อการบริโภคในครัวเรือน เพื่อขายโดยส่งเข้ากลุ่มเกษตรอินทรีย์และผลิตเป็นผลผลิตต่อเนื่อง 2) มูลค่าทางเศรษฐกิจของผักพื้นบ้านจากการใช้ประโยชน์ในแต่ละด้าน คือ มูลค่าทางเศรษฐกิจเพื่อการบริโภคในครัวเรือน เท่ากับ 123,122.4 บาทต่อปี มูลค่าทางเศรษฐกิจเพื่อขายโดยส่งเข้ากลุ่มเกษตรอินทรีย์ เท่ากับ 479,825.2 บาทต่อปี และมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลผลิตต่อเนื่องเท่ากับ 33,764 บาทต่อปี ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ขนาดพื้นที่ทำการเกษตรที่แตกต่างกันมีมูลค่าขายผักพื้นบ้านโดยส่งเข้ากลุ่มแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th
dc.description.abstractThis research aims 1) to study the benefits of indigenous vegetables promoted as self-sufficient theory and to study 2) to evaluate the economic values of the indigenous vegetabled in Kuyaimee Sub-district of Sanam Chaikhet District of Chachoengsao Province. The population-based study included 87 gardeners who have cultivated indigenous vegetables and sold to an organic agriculture group in Kuyaimee subdistrict, Sanam Chaikhet district of Chachoengsao province. They have received direct benefits from 155 indigenous vegetabled for their own consumption and income. Data were collected with interviews and analyzed by creating a summary from interviews, descriptive statistics and a one-way ANOVA. The research showed 1) that most gardeners were female aged between 41-60, with family members of around 4-6 people and possessed cultivated land approximately 1-15 rai. The economic values of indigenous vegetables could be divided into three groups 2) for own consumption calculated as 123,122,4 Baht per year, for selling to the organic agricultural group calculated as 479,825.2 Baht per year, and for value adding calculated 33,764 Baht per year. Furthermore, the statistics findings showed that there was a significant difference of value of indigenous vegetables selling between growers and common farmers with a different cultivation size at 0.05-
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2555th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectผักพื้นบ้าน -- ไทย -- ฉะเชิงเทราth
dc.subjectIndigenous vegetables -- Thailand -- Chachoengsaoth
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth
dc.subjectSufficiency economyth
dc.subjectคู้ยายหมี (ฉะเชิงเทรา)th
dc.subjectKuyaimee (Chachoengsao)th
dc.titleการใช้ประโยชน์และมูลค่าทางเศรษฐกิจของผักพื้นบ้าน ในตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราth
dc.title.alternativeEconomic Evaluation of Benefits and Value of Indigenous Vegetables Grown in Kuyaimee Sub-district of Sanam Chaikhet District of Chachoengsao Provinceth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Business Administration - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungrudee.pdf5.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.