Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/103
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Li, Yinsheng | - |
dc.contributor.advisor | 李寅生 | - |
dc.contributor.author | 苏国鹏 | - |
dc.contributor.author | ชิตพงษ์ โสธิกุล | - |
dc.date.accessioned | 2022-04-19T14:30:56Z | - |
dc.date.available | 2022-04-19T14:30:56Z | - |
dc.date.issued | 2013 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/103 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013 | th |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ ใช้กรณีศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดปทุมวนารามในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักงานเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยศึกษาวิธีการพัฒนาความสามารถในการเขียนอักษรภาษาจีนของนักเรียนไทย ผู้วิจัยออกแบบการสอน นำเข้าสู่บทเรียนด้วย "วิธีบัตรคำภาพลายเส้น" วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์และความคงทนของการเรียนด้วยการสังเกตพัฒนาการเรียนรู้ก่อนและหลังเรียนสรุปประสบการณ์การสอนและอภิปรายผลการทดลองว่ามีประโยชน์สมควรเผยแพร่และเลือกนำมาใช้สอนแก่ชาวต่างชาติ บทนำประกอบด้วยที่มาของการวิจัย การทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตและวิธีการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาจีนให้แก่ชาวต่างชาติ โดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อนในการเขียนอักษรภาษาจีน บทที่หนึ่ง วิเคราะห์ความคลาดเคลื่อนในการเขียนอักษรภาษาจีนของนักเรียนไทย พบว่ามีสาเหตุมาจากความแตกต่างของการเขียนอักษรคำไทยที่สะกดด้วยพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์กับการเขียนอักษรภาพรูปจัตุรัสของจีนอย่างมีนัยสำคัญ บทที่สอง ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบในการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นภาษาที่สองของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยวิธีการสังเกตุและติดตามจากสภาพการเรียนของนักเรียน การสอนของครู บริบทของโรงเรียนและครอบครัว เก็บข้อมูล วิเคราะห์ตัวเลขสถิติ และสรุปรวบรวมสาเหตุของปัญหาการเรียน การสอนด้วยวิธีการวิจัยในชั้นเรียน บทที่สาม อภิปราบผลการพัฒนาความสามารถในการเขียนอักษรภาษาจีนโดยใช้วิธีการเรียนด้วย "วิธีบัตรคำภาพลายเส้น" ซึ่งปรากฏว่า นักเรียนมีพัฒนาการด้านความสามารถในการเขียนตัวอักษรจีนสูงขึ้น ลายมือบรรจงสามารถจดจำและจำแนกตัวอักษรได้อย่างแม่นยำ ชอบเขียนหนังสือจีนเพิ่มขึ้น รวมทั้งนักเรียนบางคนที่เรียนรู้ชาและขาดทักษะในการเขียนตัวอักษร ก็สนใจและมีพัฒนาการเขียนตัวอักษรจีนได้ดีขึ้น บทที่สี่ พัฒนามาตรการ แนวทาง และวิธีการสอนเขียนตัวอักษรภาษาจีนด้วย "วิธีบัตรคำภาพลายเส้น" โดยการทบทวนนวัตกรรมและผลสรุปการวิจัยในการพัฒนาทักษะการเขียนอักษรภาษาจีนจากกรณีศึกษา สรุปผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะว่า ปัญหาการอ่านภาษาจีนไม่ออกหรืออ่านไม่เข้าใจ ทำให้นักเรียน ไม่มีความสุขในการเรียน มีทัศนคติไม่ดี ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเรียนรู้ภาษาจีนทุกๆ ด้าน | th |
dc.description.abstract | This case study focuses on grade 5 students from Watpratumwanaram School under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Patumwan District, Bangkok Metropolis. Teaching how to write Chinese characters properly is the main factor in teaching Chinese language in Thailand. However, the efficiency in teaching is still not satisfactory and has become an obstacle. From my own experience in this field, I have created a set of "Stroke Method" which is designed to suit particularly with Thai students. A pattern of teaching process and the progress of students' learning competence (before and after) are followed up. Then, analyzing of its achievement and retention of "Stroke Method" process are conducted. Discussion and debates are also held order to find out that if this method is worth to be publicized and adopted for foreigners. Chapter I: Analysis of the differences in writing acquistion. Thai language consists of consonants, voweld and tone combination which are greatly different from Chinese ideographic characters. Chapter II: Teaching Chinese language as a second language. The purpose is to analyze the factors that have effects upon teaching Chinese and to present the problems of 5 grade students in learning Chinese characters. Then, information was investigated and recorded in order to make statistical data table and problem analysis. Chapter III: How to gain students' interest. We found out that this process helped students improve their learning skill. Their interest in Chinese character gradually increased. In conclusion, their learning gets better. Even students who are incompetent in Thai express interest in Chinese characters. Theis handwriting, memory and ability in identifying Chinese characters improved notably. Chapter IV: Innovations of teching strategies and guidelines for Chinese character writing. To summarize "Stroke Method" this is conducted at Watpratumwanaram School. However, some students who lack ability to read in Chinese may get bored and their interest in learning would decline. Therefore, the lack of ability to read in Chinese becomes a great obstacle for students to learn Chinese. | th |
dc.description.abstract | 本文以曼谷市巴吞旺县泰国诗琳通公主殿下扶助之的越巴吞瓦纳兰曼谷市学校的小学五年级为研究对象, 探讨如何提高泰国学生的汉字书写能力。论文引入 “笔画字卡法” 教学生学习汉字, 设计教学过程, 仔细考察学生学习前后的变化, 分析其效果, 总结 “笔画字卡法” 的教学经验, 讨论该教学法的推广应用价值。 绪论包含以下内容: 选题缘起、研究综述、研究范围及研究方法以及相关理论。其中研究目标和研究范围以及研究方案, 包含了对外汉语教学的相关研究成果回顾。 研究方法采用了对比研究法、偏误分析法、个案研究法等。大致分为以下几个部分: 第一章: 分析书写习得方面的差异。导致学生写字偏误的原因是泰语是字母文字跟汉语方块文字存在很大的区别。 第二章: 对汉语课堂教学进行研究, 分析学生、学校、教师与家长对汉语学习、 管理、教学与配合等方面的问题。以在校五年级学生课堂教学中出现的问题为主要研究对象进行调查并以此统计出数据表, 进而研究分析问题的根源。 第三章: 讨论 “笔画字卡法” 对提高学生学习汉字书写兴趣的促进作用。笔者在使用 “笔画字卡法” 的教学过程中发现, 学生自我调整意识提高,汉字书写兴趣逐渐被调动起来, 总体教学效果良好, 一些智力晚熟对泰语还不太熟练的学生对学写汉字也有潜在兴趣, 字体工整, 记忆和识别文字能力增强。 第四章: 探讨创新汉字书写的教学对策与方针,着重阐述了笔者对该校学生通过 “笔画字卡法” 习字法这个案例进行总结研究。 此外, 在学生无法读懂汉字的情况下, 会对汉语学习产生枯燥乏味的情绪, 减少了对汉语学习的兴趣, 所以阅读也是学生学习汉语的一大障碍。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | โรงเรียนวัดปทุมวนาราม | th |
dc.subject | Watpratumwanaram School | th |
dc.subject | ตัวอักษรจีน | th |
dc.subject | Chinese characters | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การเขียน | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th |
dc.subject | Chinese language -- Writing -- Study and teaching (Primary) | th |
dc.subject | 对外汉语教学 | th |
dc.subject | 汉字书写 | th |
dc.subject | 笔画字卡法 | th |
dc.title | 笔画字卡法在对外汉字教学中的实证研究以曼谷市 巴吞旺县泰国诗琳通公主殿下扶助之的 越巴吞瓦纳兰学校小学五年级为例 | th |
dc.title.alternative | การวิจัยเชิงประจักษ์โดยใช้บัตรคำภาพลายเส้นเพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนตัวอักษรจีน : กรณีศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี สำนักงานเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร | th |
dc.title.alternative | An Empirical Study of the "Stroke Method' in Teaching Chinese to 5th Grade Students at the Watpratumwanaram School under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Patumwan District, Bangkok Petropolis | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสอนภาษาจีน | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
CHITPHONG-SOTHIKUL.pdf Restricted Access | 4.12 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.