Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจริยาวัตร คมพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorพรศิริ พันธสี-
dc.contributor.advisorJariyawat Kompayak-
dc.contributor.advisorPornsiri Pantasri-
dc.contributor.authorชุติมา สร้อยนาค-
dc.contributor.authorChutima Soynahk-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-04-22T14:11:28Z-
dc.date.available2022-04-22T14:11:28Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/117-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมป้องกันและความเสี่ยงการเกิดโรคเบางหวานชนิดที่ 2 ของมุสลิมวัยทำงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นมุสลิม อายุ 20-60 ปีที่ขึ้นทะเบียนเป็นสัปปุรุษประจำมัสยิดกลางประจำจังหวัดชลบุรี จำนวน 219 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้รับการตรวจสอบความตรงในเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน มีค่า CVI ระหว่าง 0.86-1.0 ทดสอบความเที่ยงด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าระหว่าง 0.82-0.98 เก็บข้อมูลรวบรวมข้อมูลหลังได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Pearson product moment ที่ระดับการมีนัยสำคัญทางสถิติ <0.05 ผลการวิจัย พบว่า แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.755, p<0.001 และ r=0.795, p<.001 ตามลำดับ) การรับรู้ความรุนแรงของโรคมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.295, p<0.001) สิ่งชักนำไปสู่การปฏิบัติมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำมากกับพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.188, p<0.05) และการรับรู้อุปสรรคการปฏิบัติพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับสูงมากกับพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=-0.904, p<0.05) ทั้งนี้การรับรู้โอกาสเสี่ยงมีความสัมพันธ์ทางลบกับดัชนีมวลกายในระดับต่ำและระดับปานกลางกับเส้นรอบเอว น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต การรับรู้ความรุนแรงมีความสัมพันธ์ทางลบกับดัชนีมวลกายในระดับต่ำมากและระดับต่ำกับเส้นรอบเอว น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติมีความสัมพันธ์ทางลยระดับต่ำกับดัชนีมวลกาย น้ำตาลในเลือด และระดับปานกลางกับเส้นรอบเอว ความดันโลหิต การรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำกับดัชนีมวลกาย น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต การรับรู้สิ่งชักนำมีความสัมพันธ์ทางลบระดับต่ำกับดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.001.th
dc.description.abstractThe study aimes to examine the association of health belief model with preventive behavior and risk of type 2 diabetes in working Muslim. Sample is Muslim age 20-60 years and registered at Chonburi province mosque, total 219. Data were collected by using a questionnaire which created by the researcher. Content validity of the questionnaire was verified by the 3 experts and the CVI was 0.86-1.0. Reliability was using Cronbach's alpha coefficient and the reliabiliity was 0.82-0.98. Data were collected after ethics approval from research committee, Huachiew Chalermprakiet University. Data analysis were frequency, percentage, minimum, maximum, mean, standard deviation and Pearson Product Moment (p<0.05). The result show that health belief model in perceived risk of disease and perceived benefits of prevention behaviors were highly positibe correlated with type 2 diabetes prevention behavior (r=0.755, p<0.001 and r=0.795, p<0.001 respectively). Perceived disease severity was lowly positive correlated with the prevalence of type 2 diabetes (r= 0.295, p<0.001) and what conductive to practice has a very low positive relationship with type 2 diabetes pervention (r=0.199, p<0.05). Perceived barriers to behaviors for disease prevention were significantly negatively correlated with type 2 diabetes prevention behaviors (r=-0.904, p<0.05). Anyhow, perceived risk was negatively low correlated with body mass index and moderate correlated with waist circumference, blood sugar, blood pressure. Perceived violence has a very low negative assoication with body mass index and low levels with waist circumference, blood sugar, blood pressure. Perceived benefits of practice has a low negative correlation with body mass index, blood sugar and moderate to waist circumference, blood pressure. Perceived impediiment ahs a low positive correlation with body mass index, blood sugar, blood pressure. Perceived induction was statistically significant associated with a low level of body mass index, waist circumference blood sugar, blood pressure (p<0.001).th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูอินth
dc.subjectมุสลิม -- ไทย -- ชลบุรีth
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth
dc.subjectType 2 diabetes-
dc.subjectHealth behavior-
dc.subjectMuslims-
dc.titleการศึกษาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพและความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของมุสลิมวัยทำงานth
dc.title.alternativeA Study of Health Belief Model and the Risk of Type 2 Diabetes in Eorking Muslim Populationsth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHUTIMASOYNAHK.pdf
  Restricted Access
5.72 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.