Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/123
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | แววมยุรา คำสุข | - |
dc.contributor.advisor | Wawmayura Chamsuk | - |
dc.contributor.author | นวพล เกษมธารนันท์ | - |
dc.contributor.author | Nawapon Kasamtaranan | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2022-04-23T03:49:51Z | - |
dc.date.available | 2022-04-23T03:49:51Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/123 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม)--มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561. | th |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 344 ราย ซึ่งมีตำแหน่งเป็นผู้บริหาร หัวหน้างาน หรือวิศวกร โดยใช้การเลือกตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนุมานประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance : ANOVA) ค่าการทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้ระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการบริหาคลังสินค้าและปัจจัยด้านการวางแผนมากที่สุด ( x̅ = 4.22) และปัจจัยด้านการขนส่ง ( x̅ = 4.21) ตามลำดับโดยในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด ( x̅ = 4.25) จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขันมี 5 ตัวแปร คือ ปัจจัยด้านการจัดการโลจิสติกส์ ซึ่งได้แก่ การจัดซื้อ การขนส่ง การบริหารคลังสินค้า และโลจิสติกส์ย้อนกลับ มีผลต่อความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.50 | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to study the level of comments about factor effectiveness to competitive advantage for entrepreneur of auto parts industry in Thailand and study factor effectiveness to competitive advantage of auto parts industry in Thailand by usinh questionnaire for collecting data from target group of 344 people whom are a manager, supervisor and engineering. The samples are chosen by Simple Random Sampling method. Analyzing data by using describe quantitative statistics and statistics to estimate quantitative consists of frequency, percentage, mean, standard deviation, Analysis of Variance: ANOVA, t-test, and multiple regression analysis. The study result found that the majority of respondents thought that the most important factors were warehouse management and planning (x̅=4.30). purchasing factor ( x̅=4.21). Overview of 5 factors was in highest level ( x̅=4.25). The hypothesis testing found that purchasing, transportation, warehouse management, planning and reverse logistics that were effective to competitive advantage of auto parts industry in Thailand at 0.05 in significant level. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | การบริหารโลจิสติกส์ | th |
dc.subject | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- ไทย | th |
dc.subject | การแข่งขันทางการค้า | th |
dc.subject | Business logistics | - |
dc.subject | Automobile supplies industry -- Thailand | - |
dc.subject | Competition | - |
dc.title | การจัดการโลจิสติกส์ที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย | th |
dc.title.alternative | Logistics Management Effectiveness to Competitive Advantage of Auto Parts Industry in Thailand | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | การจัดการมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การจัดการอุตสาหกรรม | th |
Appears in Collections: | Business Administration - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NAWAPON-KASAMTARANAN.pdf Restricted Access | 5.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.