Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบังอร ฉางทรัพย์-
dc.contributor.authorสุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ-
dc.contributor.authorเกษม พลายแก้ว-
dc.contributor.authorภาสินี สงวนสิทธิ์-
dc.contributor.authorระพีพันธุ์ ศิริเดช-
dc.contributor.authorBangon Changsap-
dc.contributor.authorSupaporn Wannapinyosheep-
dc.contributor.authorKasem Plaikaew-
dc.contributor.authorPasinee Sanguansit-
dc.contributor.authorRapipan Siridet-
dc.contributor.authorHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.date.accessioned2023-03-16T11:49:18Z-
dc.date.available2023-03-16T11:49:18Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1256-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกของพยาธิเข็มหมุดในเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กชั้นประถมศึกษาตอนต้น ในเขตอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ และ 2) วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างความชุกของพยาธิเข็มหมุดกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการศึกษาโดยการตรวจหาไข่พยาธิเข็มหมุดด้วยวิธีสกอตเทป ในเด็กวัยก่อนวัยเรียนและวัยประถมศึกษา ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 9 แห่ง และโรงเรียนประถมศึกษา 20 แห่งในอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ระหว่างเดือนมกราคม 2558 ถึงเดือนธันวาคม 2559 เด็กที่รับการตรวจจำนวน 2,013 คน เป็นเพศชาย จำนวน 1,013 คน เพศหญิง จำนวน 1,000 คน ผลการสำรวจพบความชุกของพยาธิเข็มหมุดในเด็ก ร้อยละ 5.17 (104/2,013) พบเด็กชายมีความชุดพยาธิเข็มหมุด ร้อยละ 5.23 (53/1,013) เพศหญิง ร้อยละ 5.10 (51/1,000) เมื่อทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความชุกของพยาธิเข็มหมุดในเด็กกับปัจจัยที่ศึกษา ประกอบด้วย 1) ปัจจัยที่เกี่ยวกับเด็ก ได้แก่ เพศ อาการแสดงของโรค และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุด 2) ปัจจัยที่เกี่ยวก้บผู้ปกครองเด็ก ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ ความเพียงพอของค่าใช้จ่าาย ระดับการศึกษา อาชีพ พื้นเพดั้งเดิม และการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคพยาธิลำไส้ และ 3) พื้นที่ศึกษา พบว่าเกือบทุกปัจจัยไม่มีความสัมพันธ์กับความชุกของพยาธิเข็มหมุดในเด็ก (p>0.05) ยกเว้น ปัจจัยด้านการกัดเล็บเล่นของเด็ก ความเพียงพอค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองเด็ก และระดับการศึกษาของผู้ปกครองเด็ก ที่มีความสัมพันธ์กับความชุกพยาธิเข็มหมุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าเด็กวัยประถมศึกษายังคงมีการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดค่อนข้างสูง ดังนั้น ควรมีการอบรมครูและผู้ปกครองเด็กเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ดีเพื่อลดการแพร่ระบาดของพยาธิเข็มหมุดในพื้นที่ศึกษาและพื้นที่ใกล้เคียงต่อไปth
dc.description.abstractThe purpose of this study were to 1) investigate the prevalence of Enterobius vemicularis (E. vermicularis) among preschool and primary school children in Bangbor district, Samut Prakarn province and 2) analyse the relationship between the prevalence of E. vermicularis infection and related factors. The children from 9 child development centers and 20 primart schools in Bangbor district, Samut Prakarn Province were examined by Scoth tape technique for the prevalence of E.vermicularis between January 2015 and December 2016. A total of number of 2,013 children were exmanined. 1,013 males and 1,000 females. The overall prevalence of E.vermicularis infection was 5.17% (104/2013), males and females were 5.23% (53/1,013) and 5.10% (51/1,000) respectively. Data were analyzed the relationship between the prevalence of E.vermicularis infection in children and the factors that included 1) factors related to children, sex, signs and risks behavior of infection 2) factors related to parenting, sex,, age, income, adequate of expenses, basic education, occupation, traditional and practice in preventing parasite diseases and 3) study area. The results revealed that almost all almost did not correlate with the prevalence of E.vermicularis (p>0.05) excluded the nail biting factor of children, adequate parental expenses, and the basic parental education those were significantly difference (p<0.05). This study confirmed that the prevalence of E.vermicularis infection is fairly high among preschool and primary school children in Bangbor district, Samutprakarn province. Training should be provided to teachers and parents to encourage children to have good personal hygiene to reduce the E.vermicularis epidemic in the study and nearby areas.th
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2557th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectพยาธิเส้นด้ายth
dc.subjectEnterobiusth
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน -- ไทย -- สมุทรปราการth
dc.subjectPreschool children -- Thailand -- Samut Prakarnth
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- ไทย -- สมุทรปราการth
dc.subjectElementary Schools -- Thailand -- Samut Prakarnth
dc.subjectบางบ่อ (สมุทรปราการ)th
dc.subjectBangbor (Samut Prakarn)th
dc.subjectพยาธิเข็มหมุด-
dc.subjectโรคหนอนพยาธิในเด็ก-
dc.subjectHelminthiasis in children-
dc.titleความชุกของพยาธิเข็มหมุดในเด็กก่อนวัยเรียนและวัยประถมศึกษาตอนต้น ในอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทยth
dc.title.alternativePrevalence of Enterobius Vermicularis among Preschool and Primary School Children in Bangbor District, Samutprakarn Province, Thailandth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Science and Technology - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bangon Changsap.pdf5.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.