Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์-
dc.contributor.authorชัชวาลย์ ช่างทำ-
dc.contributor.authorยุคลธร สถาปนศิริ-
dc.contributor.authorวิภาพรรณ ชนะภักดิ์-
dc.contributor.authorพิมพ์ภัค ภัทรนาวิก-
dc.contributor.authorดิเรก พนิตสุภากมล-
dc.contributor.authorSiriwan Tantawanich-
dc.contributor.authorChatchawan Changtam-
dc.contributor.authorYukonthorn Sathapanasiri-
dc.contributor.authorWipapan Chanpag-
dc.contributor.authorPimpak Phataranavik-
dc.contributor.authorDirek Panitsupakamol-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology-
dc.date.accessioned2023-03-19T04:56:23Z-
dc.date.available2023-03-19T04:56:23Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1273-
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตและการตลาดปลาสลิดตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ โดยศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของผู้ที่ดำเนินธุรกิจปลาสลิด การผลิตและการตลาดปลาสลิด รวมทั้งวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการดำเนินธุรกิจปลาสลิด วิถีการตลาดและส่วนเหลื่อมการตลาดปลาสลิด โดยสำรวจข้อมูลจากเกษตรกรในตำบลคลองด่าน จำนวน 76 ราย และพ่อค้าคนกลางในตำบลคลองด่าน จำนวน 15 ราย ปีการผลิต 2558-2559 จากผลการสำรวจพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดมีอายุเฉลี่ย 55 ปี ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 69.74 มีสมาชิกในครัวเรือนโดยเฉลี่ย 5 คน เกษตรกรมีประสบการณ์เลี้ยงปลาสลิดโดยเฉลี่ย 31 ปี มีพื้นที่เลี้้ยงตั้งแต่ 1 ไร่ ถึง 75 ไร่ โดยมีพื้นที่เลี้ยง ตั้งแต่ 1-20 ไร่ มากที่สุดร้อยละ 51.30 รองลงมา 21-40 ไร่ ร้อยละ 25 และมีพื้นที่เลี้ยงมากกว่า 40 ไร่ ร้อยละ 23.70 สำหรับการถือครองที่ดิน พบว่ามีเกษตรกร เช่าที่ดินจากนายทุนทั้งหมด ร้อยละ 59.21 เป็นพื้นที่ของตนเองทั้งหมด ร้อยละ 28.95 และเป็นพื้นที่ของตนเองบางส่วนและเช่าจาากนายทุนบางส่วน ร้อยละ 11.84 แหล่งเงินทุนสำหรับประกอบธุรกิจส่วนใหญ่เป็นของตนเองและกู้บางส่วน ร้อยละ 52.63 เกษตรกรกู้ทั้งหมดร้อยละ 30.26 สภาพเศรษฐกิจและสังคมของพ่อค้าคนกลาง ซึ่งประกอบด้วยผู้รวบรวม ผู้แปรรูปและผู้ค้าปลีก พบว่าส่วนใหญ่เป็นคนในท้องถิ่นที่มีความคุ้นเคยเป็นอย่างดีกับ มีอายุเฉลี่ย 52.60 ปีส่วนใหญ่ มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 80 และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายปลาสลิดเฉลี่ยมากกว่า 20 ปี ผลการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดมีต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ย เท่ากับ 7,884.22 บาทต่อไร ปริมาณปลาสลิดรวมทั้งปลาจมที่ผลิตได้เฉลี่ย 220.78 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาเฉลี่ยที่ได้รับจาการขายปลาสลิดสดเท่ากับ 53.50 บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นรายได้เฉลี่ย 10, 700 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 88.07 ของรายได้ทั้งหมด กำไรทั้งหมด 2,815.78 บาทต่อไร จากการศึกษาวิถีการตลาด พบว่า เริ่มต้นจากเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดจะขายปลาสลิดสด ให้กับผู้รวบรวมท้องถิ่นและผู้แปรรูป ร้อยละ 92.11 และร้อยละ 7.89 ตามลำดับต่อมาผู้รวบรวมท้องถิ่นจะขายปลาสลิดให้กับผู้แปรรูปและผู้ค้าปลีก ร้อยละ 66.67 และร้อยละ 33.33 ตามลำดับ ส่วนผู้แปรรูปเมื่อซื้อปลาสลิดสดมาแล้วจะนำไปแปรรูปเป็นปลาสลิดแดดเดียวและปลาสลิดหอม ร้อยละ 75 และร้อยละ 10 ต้นทุนของผู้รวบรวมท้องถิ่นมีรอบในการจัดซื้อปลาสลิดสดโดยเฉลี่ยเท่ากับ 225 ครั้งต่อปี มีต้นทุนทั้งหมด 1,308,244.50 บาทต่อปี ส่วนผู้แปรรูปมีต้นทุนทั้งหมด 1,624,368.75 บาทต่อปี ผู้ค้าปลีกมีต้นทุนทั้งหมด 251,897.45 บาทต่อปี สำหรับรายได้จากการขายปลาสลิดของผู้รวบรวมท้องถิ่นทั้งหมดเท่ากับ 4,950,000 บาทต่อปี ผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปีเท่ากับ 3,641,755.50 บาทผู้แปรรูปมีรายได้จากการขายปลาสลิดทั้งหมดเท่ากับ 27,324,000 บาทต่อปี มีผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปี 25,699,631.25 บาท ส่วนผู้ค้าปลีก มีรายได้จากการขายปลาสลิดทั้งหมดเท่ากับ 903,375 บาทต่อปี และได้รับผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปีจำนวน 651,477.55 บาท นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ส่วนเหลื่อมการตลาด พบว่า พ่อค้าคนกลางประมาณผู้แปรรูปมีส่วนเหลื่อมการตลาดมากที่สุดกิโลกรัมละ 70 บาท รองลงมาคือ ผู้ค้าปลีก กิโลกรัมละ 50 บาท และผู้รวบรวมท้องถิ่น กิโลกรัมละ 11 บาท เมื่อเปรียบเทียบผลตอบแทนผู้ประกอบการธุรกิจปลาสลิดแล้วพบว่า ผู้แปรรูปปลาสลิดมีผลตอบแทนมากที่สุด ในขณะที่เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดได้ผลตอนแทนที่ต่ำสุด ดังนั้น จึงเป็นสิ่งที่เกษตรกร ผู้เลี้ยงปลาสลิดต้องพัฒนากระบวนการเลี้ยงปลาสลิดให้ได้ผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นหรือต้องมีวิธีการลดต้นทุนการผลิต แต่ยังคงรักษาคุณภาพและความเป็นเอกลักษณ์ของปลาสลิดบางบ่อให้คงอยู่ต่อไปth
dc.description.abstractThe aims of this research were to study the production and marketing of Snakeskin Gourami in Khlongdan Sub-district, Bang Bo District, Samut Prakarn Province. The scope of this work study on the situation of socioeconomic of entrepreneur, including production, marketing, cost-benefit analysis and also study of the market channel and market margin. The data were collected from 76 farmers and 15 middlemen in the Khlong Dan sub district, Crop year 2015-2016. The results of socioeconomic show that the average of farmers was 55 years old and they were in elementary schoold in 69.74 percent, most of them have farmed for 31 years and each farmer's family has 5 persons. They have the area for raising from 1 to 75 rai, the area is divided into areas ranging from 1 to 20 rai, 51.30 percent, followed by the area of 21 to 40 rai, 25 percent and the area more than 40 rai, 23.70 percent. The land holdings were found that farmers leased land from all capitalists average 59.21 percent, their own total area is 28.95 percent, and in their own area and partly leased from capitalists 11.84 percent. Sources of funds for farming, the farmers got from self-employed and partial borrowing are 52.63 percent and some groups all borrowing 30.26 percent. The status of socioeconomic of middlemen included, collectors, processors and retailers, most of them are local people who are very familiar with farmers. The average age is 52.60 years, primary education is 80 percent, with over 20 years of experience in the trading of Sepat Siam. The results of cost and return showed that farmers had an average total cost of 7,884.22 baht per rai. The quantity of all produced was 220.78 kilograms per rai. The average selling price of live fish is 53.50 baht per kilogram. The average income is 10,700 baht per rai or 88.07 percent of total income. The net profit is 2,815.78 baht per rai. The study of middlemen found that the channel market starts from farmers who sell most of the fish to local collectors, in 92.11 percent and sold to the processors 7.89 percent. After that, the local collectors will sell fresh fish to the processors and retailers 66.67 percent and 33.33 percent, respectively. After processors purchased fresh fish, they will be processed into Plas-Salid-Daddiewand Plas-Salid-Hom of 75 percent and 10 percent, respectively. The local collectors had the transaction for buying fresh fish around 225 times per year, with a total cost of 1,308,244.50 baht per year. For processors, the average cost is 1,624,368.75 baht per year, while the average retailer costs 251,897.45 baht per year. The income of local collectors is 4,950,000 baht per year. The average annual income is 3,641,755.50 baht. The income of processors and retailer are 27,324,000 and 903,375 baht per year, respectively. The average annual income of processors and reatailer are 25,699,631.25 and 651,477.55 baht per year, respectively. The results of marketing margin analysis revealed that the processors have the most marketing margin followed by the retailer and the local collector of 70, 50 and 11 baht per kilogram respectively. Compared to the returns of the Sepat Siam business, the processors had the highest return. While raising farmers to have the lowest return. Therefore, it is important for fish farmers to improve the production of Sepat Siam, or to reduce production costs, but still preserving the quality and uniqueness of Pla-Salid-Bangbo to remain.th
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2556th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectปลาสลิดth
dc.subjectSnakeskin gouramith
dc.subjectการเพาะเลี้ยงปลาth
dc.subjectFish-cultureth
dc.subjectต้นทุนและประสิทธิผลth
dc.subjectCost effectivenessth
dc.titleการศึกษาการผลิตและการตลาดปลาสลิด ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการth
dc.title.alternativeA Study on Production and Marketing of Snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) Khlongdan Sub-district, Bang Bo District, Samut Prakan Provinceth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Science and Technology - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriwan-Tantawanich.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.