Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1281
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุมารินทร์ พูลพานิชอุปถัมย์ | - |
dc.contributor.author | ฐิตาภรณ์ เหลืองวิลัย | - |
dc.contributor.author | Umarin Poolpanichuppatam | - |
dc.contributor.author | Titaporn Luangwilai | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | - |
dc.date.accessioned | 2023-03-20T15:02:50Z | - |
dc.date.available | 2023-03-20T15:02:50Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1281 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอาการตาแห้งและความเมื่อยล้าของสายตาในพนักงาน กรณีศึกษาในบริษัทอุตสาหกรรมผลิตหินเจียรแห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรี เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคล และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานกับระดับความรุนแรงของอาการตาแห้ง และอาการความเมื่อยล้าสายตาในพนักงานแผนก Inpsection และแผนก Finishing โดยเครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามข้อมูลด้านอาการที่เกี่ยวกับโรคตาแห้งของ Ocular Surface Disease (OSDI) เครื่องตรวจวัดความเมื่อยล้าของสายตา เครื่องตรวจวัดระดับความเข้มแสงสว่าง ระดับความร้อน และปริมาณฝุ่น เก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานในแผนก Inspection และแผนก Fishing จำนวน 55 คน ผลจากการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาการตาแห้งในระดับปกติร้อยละ 36.36 รองลงมาระดับเล็กน้อยถึงปานกลางเท่ากันร้อยละ 21.82 และระดับตาแห้งมากร้อยละ 20.00 ส่วนใหญ่ไม่มีความเมื่อยล้าสายตาร้อยละ 89.09 มีความเมื่อยล้าสายตาร้อยละ 10.91 จากการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน พบว่า ความเข้มของแสงสว่างส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 52.73 ระดับความร้อนผ่านเกณฑ์ประเมินตามกฎหมาย ร้อยละ 100 ปริมาณความเข้มข้นฝุ่นผ่านเกณฑ์ประเมินตามกฎหมาย ร้อยละ 100 และเมื่อศึกษาความสัมพันธ์ พบว่าปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคลและปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของอาการตาแห้งและอาการความเมื่อยล้าสายตา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) จากผลการศึกษาจึงมีข้อเสนออแนะว่าควรมีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดความล้มของสายตาและอาการตาแห้ง โดยเฉพาะแสงสว่าง กำชับให้พนักงานสวมใส่แว่นตานิรภัย เพื่อเป็นการป้องกันฝุ่นละอองและความร้อนที่เกิดจากกระบวนการทำงาน | th |
dc.description.abstract | This study was a descriptive research. The objectives were to study the Factors affecting the severity of dry eye symptoms and eye fatigue in employees: A case study of a grinding stone industry in Chonburi Province. The samples for this research are worker in Finishing and Inspection department amount 55 of workers. The research instruments included a subjecy characteristic questionnaire, Dry eye disease data OSDI (Ocular Surface Disease Index), Flicker fusion instrument, Lux meter, Heat stress monitor and Personal sampling Pump. Statistics used for data analysis were quanity, percentage, mean, standard deviation and Chi-square test. The result of the study showed that 36.36% of workers have dry eyes symptoms in good level, 21.82% in moderate level and 20.00% in severe level. For eye fatigue, the result showed that 89.09% of workers have no eye fatique and 10.91% have eye fatigue. According to the work environment, it was found that most of the light intensity did not reach the standard of 52.73%. The level of heat was 100%. The dust content was 100%. The dust content was 100%. The finding association were that personal information and working environment were not assoicated with dry eye symptoms and eye fatigue (p-value<0.05). From the results of the research can be concluded that factory should be improve environment of work station and surveillance health for eye of workers by examiniation about eye for prevent and decrease affects about health for eye of workers. | th |
dc.description.sponsorship | การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีการศึกษา 2557 | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | อาการตากแห้ง | th |
dc.subject | Dry eye syndromes | th |
dc.subject | สายตา | th |
dc.subject | Vision | th |
dc.subject | อุตสาหกรรมผลิตหินเจียร -- ไทย -- ชลบุรี | th |
dc.subject | Grinding Stone Industry -- Thailand -- Chonburi | th |
dc.subject | โรคเกิดจากอาชีพ | th |
dc.subject | Occupational diseases | th |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอาการตาแห้งและความเมื่อยล้าของสายตาในพนักงานกรณีศึกษาในบริษัทอุตสาหกรรมผลิตหินเจียรแห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรี | th |
dc.title.alternative | Factors Affecting the Severity of Dry Symptoms and Eye Fatigue in Employees : A Case Study of a Grinding Stone Industry in Chonburi Province | th |
dc.type | Technical Report | th |
Appears in Collections: | Public and Environmental Health - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Umarin-Poolpanichuppatam.pdf | 6.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.