Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพินท์ สีขาว-
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ กสิผล-
dc.contributor.authorยวิษฐา สุขวาสนะ-
dc.contributor.authorYawitthaa Sukwassana-
dc.contributor.authorOrapin Sikaow-
dc.contributor.authorTaweesak Kasiphol-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-04-24T04:14:16Z-
dc.date.available2022-04-24T04:14:16Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/129-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2564th
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองกับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.บางทราย จำนวน 92 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ได้รับผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และนำไปทดสอบหาค่าความเชื่อมั่น ได้หาค่า (KR-20) เท่ากับ .73 .91 และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค เท่ากับ .71 .85 .96 .71 และ .70 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติการหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของสเปียร์แมนและวิเคราะห์สมการถดถอยโลจิสติกส์ ผลการศึกษา พบว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 37.02, S.D. = 10.17) พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 37.76, S.D. = 7.87) ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่เป็นโรคและความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยผู้ป่วยเบาหวานที่มีการศึกษาสูงกว่าระดับประถมศึกษามีโอกาสควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีกว่าผู้ป่วยเบาหวานที่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา 7.90 เท่า ผู้ที่เป็นเบาหวานระยะเวลา 6-10 ปี 11-15 ปี และมากกว่า 15 ปี สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีกว่าผู้ป่วยที่มีระยะเวลาการเป็นโรค 1-5 ปี ที่ 8.82 เท่า (95%CI = 1.34–57.86) 4.43 เท่า (95%CI = .743–26.46) และ 39.84 เท่า (95%CI = 5.06–313.5) ตามลำดับ ผู้ที่เป็นเบาหวานที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับปานกลางและความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับสูงจะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีกว่าผู้ที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพต่ำ ที่ .046 เท่า (95%CI = .004–.49) และ .771 เท่า (95%CI = .070–8.50) ตามลำดับข้อเสนอแนะ ควรมีการออกแบบโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม การดูแลตนเองในผู้โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในกลุ่มที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้th
dc.description.abstractThis descriptive study explores the association of personal factor, health literacy, self-care behaviors and glycemic control in type 2 diabetes. The sample includes a total of 92 diabetic patients who received services at Bang Sai health promotion hospital. The research instrument consisted of 56 questions including personal information, six domains of health literacy and self-care behaviors. The questionnaire was validated by three experts. The reliability of the questionnaire, KR-20 is equal to .73 and .91. Cronbach’s alpha coefficient is equal to .71, .85, .96, .71 and .70 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics, Spearman's correlation coefficient and logistic regression.The results showed that health literacy and self-care behaviors scores of patients with type 2 diabetes were at a moderate level, (Mean=37.02, S.D.=10.17 and Mean=37.76, S.D.=7.87 respectively). The findings showed that education, duration of disease and health literacy are significantly related to glycemic control. Patients with an education higher than primary school had 7.9 times better control of their blood sugar than participants who had a lower level of education. Participants with a duration of disease about 6–10 years, 11–15 years and more than 15 years could control their blood sugar 8.82 (95%CI = .134–57.86), 4.43 (95%CI = .743–26.46) and 39.84 times (95%CI = 5.06–313.5) respectively better than the group of 1–5 years. In term of health literacy, patients with moderate and higher health literacy also control their blood sugar better than the patients with a lower level of health literacy .046 (95%CI = .004–.49) and .771 times (95%CI = .070–8.50) respectively. Suggestion Nurse should design diabetic care programs to promote health literacy and self-care behaviors for the uncontrolled diabetic patientsth
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินth
dc.subjectผู้ป่่วยเบาหวานth
dc.subjectน้ำตาลในเลือด -- การควบคุมth
dc.subjectเบาหวาน -- การรักษาth
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองth
dc.subjectBlood glucose -- Controlth
dc.subjectDiabetes -- Treatmentth
dc.subjectDiabetes Mellitus, Type 2th
dc.subjectNon-insulin-dependent diabetes-
dc.subjectSelf-care, Health-
dc.subjectDiabetics-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองกับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2th
dc.title.alternativeThe Association of Personal Factor, Health Literacy, Self-Care Behaviors and Glycemic Control in Type 2 Diabetesth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
YAWITTHAA-SUKWASSANA.pdf5.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.