Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1336
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรลักษณ์ คุณาธิมาพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ดรุณวรรณ สมใจ | - |
dc.contributor.author | ศิริลักษณ์ วงษ์วิจิตสุข | - |
dc.contributor.author | Woraluk Kunathimapun | - |
dc.contributor.author | Darunwan Somjai | - |
dc.contributor.author | Sirilak Wongvijitsuk | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-07T10:06:52Z | - |
dc.date.available | 2023-04-07T10:06:52Z | - |
dc.date.issued | 2003 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1336 | - |
dc.description.abstract | รายงานฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อประเมินการจัดการความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินของคนงานในโรงงาน ณ จุด เวลาใดเวลาหนึ่งโดยมุ่งหวังศึกษาให้ทราบถึงกระบวนการจัดการความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินของคนงาน ตามโปรแกรมอนุรักษ์การได้ยินที่ปรับปรุงจากโปรแกรมของสมาคมความปลอดภัยและอนามัยแห่งชาติสหรัฐอเมริกา โดยใช้แบบสัมภาษณ์เก็บรวบรวมข้อมูลจากโรงงานที่มีความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินของคนงานในเขตอำเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการ ตามบัญชีของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ปี พ.ศ.2543 จำนวน 130 โรงงานการเก็บข้อมูลใช้วิธีการเลือกสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่าโรงงานส่วนมากในเขตอำเภอบางพลีเป็นโรงงานที่มีจำนวนลูกจ้างอยู่ระหว่าง 300-500 คน ซึ่งจัดว่าเป็นโรงงานขนาดกลางและผู้ตอบแบบสัมภาษณ์คิดว่าโรงงานของตัวเองมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหูตึงจากการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 56.2 และส่วนใหญ่ก็ยังไม่ทราบว่ามีโปรแกรมอนุรักษ์การได้ยิน หรือโปรแกรมป้องกันการสูญเสียการได้ยินของกระทรวงสาธารณสุขที่จัดขึ้น คิดเป็นร้อยละ 71.5 ของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ทั้งหมด การจัดการความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินของคนงานในโรงงานจัดอยู่ในระดับควรปรับปรุงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34.6 รองลงมาคือ ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 33.1 และระดับพอใช้คิดเป็นร้อยละ 32.3 ตามลำดับ ผู้ทำหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการเกี่ยวกับการสูญเสียการได้ยินของคนงานส่วนมากเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 96.9 มีเพียงร้อยละ 3.1 ที่เป็นผู้เกี่ยวข้องซึ่งไม่มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวข้องกับคนงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและความคิดเป็นของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและผู้เกี่ยวข้อง ที่มีต่อการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินของคนงานในโรงงาน ส่วนใหญ่เข้าใจและเห็นประโยชน์ของระบบการจัดการในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 59.2 แต่ความต้องการนำระบบการจัดการความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินไปใช้อยู่ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 46.9 ทั้งนี้เนื่องจากเห็นว่าการนำไปใช้ในโรงงานจะก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคถึงร้อยละ 63.1 ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่คิดว่าจะเกิดขึ้นสรุปได้ 5 ข้อ คือ ด้านงบประมาณสนับสนุนความไม่ต่อเนื่องในการจัดการ ความไม่เข้าใจและไม่เห็นความสำคัญของผู้บริหาร พนักงานขาดวินัยในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลและพนักงานไม่ให้ความร่วมมือ | th |
dc.description.abstract | This study is a cross-sectional, descriptive design which had the purpose to assess the rearing-loss management program of factories in Bangplee District, Samuthprakarn Province. The study was derived from that o f the Occupational Safety and Health Administration (OSHA). a number of 130 factories listed (in 2543BE.) by the Department of Industrial Work Industries were included randomly ; selected safety of associated personnel in charge of safety management were interviewed. Data was recorded by using graded value questionnaires. The results showed that most factories in Bangplee District are medium size factories with 300-500 workers. A proportion of 56.2% of safety personnel believed that they were exposed to hearing-loss risks in their work places Furthermore, most of them (71.5%) were not aware of the hearing conservation program or the noise-induced, hearing-loss prevention program, implemented by the Ministry of Public Health. According to the hearing-loss risk management performances factories could be grouped into 3; 1) . a good practice group (33.1%) 2). A grip that needs improvement (34.6%) and 3). A poor manipulation group (32.3%). Most of the personnel responsible for hearing-loss risk management were safety personnel (96.9%) and the rest (3.1%) were an unqualified workers in occupation safety. Regarding their opinions of risk management, 59.2% understood and realized the benefits of the management program. However, only 46.9% intended to implement the hearing-loss risk management program. About 63.1% stated that problems and other obstacles will occur when this program was brought to implemented in their factories. These problems include 1). insufficient supporting budget, 2). Unsustainable management of the program, 3). Attitude of administrators toward the program, 4) . poor discipline in using protection equipment and 5). Uncooperative response from the workers. | th |
dc.description.sponsorship | การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2544 | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | การสูญเสียการได้ยิน | th |
dc.subject | Hearing loss | th |
dc.subject | การได้ยิน | th |
dc.subject | Hearing | th |
dc.subject | การได้ยินผิดปกติ | th |
dc.subject | Hearing disorders | th |
dc.subject | โรงงาน -- ไทย -- สมุทรปราการ | th |
dc.subject | Factories -- Thailand -- Samut Prakarn | th |
dc.title | การประเมินการจัดการความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินของคนงานในโรงงาน เขตอำเภอบางพลี | th |
dc.title.alternative | An Assessment of the Management of Hearing-Loss Risks of Workers in Bangplee Industrial Plants | th |
dc.type | Technical Report | th |
Appears in Collections: | Public and Environmental Health - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.pdf | 286.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tableofcontent.pdf | 123.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter1.pdf | 281.67 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter2.pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter2 (Cont.).pdf | 80.98 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter3.pdf | 223.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter4.pdf | 227.86 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter5.pdf | 372.85 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Reference.pdf | 523.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.