Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1492
Title: กรณีศึกษาการใช้สื่อใหม่ผ่านโซเชียลมีเดียในโทรศัพท์มือถือเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุกับสมาชิกในครอบครัว ณ ประเทศนิวซีแลนด์
Other Titles: A Case Study of The Use of New Media through Social Media on Smartphone to Improve Quality of Life for Elderly with Family Members in New Zealand
Authors: ณัฐนันท์ ศิริเจริญ
Nattanun Siricharoen
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Communication Arts
Keywords: สื่อสังคมออนไลน์
Social media
ผู้สูงอายุ
Old people
คุณภาพชีวิต
Quality of life
สมาร์ตโฟน
Smartphones
นิวซีแลนด์
New Zealand
Issue Date: 2015
Citation: Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) 8, 3 (September-December 2015), 96-117
Abstract: การศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการเลือกใช้สื่อใหม่ผ่านโซเชียล มีเดียในโทรศัพท์มือถือเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุกับสมาชิกครอบครัว โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในเมืองโอ๊คแลนด์ แฮมมิลตัน โรโตรัว และเทาโป ประเทศนิวซีแลนด์ เพื่อนำข้อค้นพบที่เป็นองค์ความรู้ใหม่เฉพาะกรณีศึกษาไปใช้ประโยชน์เป็นแนวทางสำหรับการวิจัยเปรียบเทียบเรื่องนี้ในประเทศไทยต่อไป ผลการวิจัยสรุปได้ว่า กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ สำหรับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์มือถือมากที่สุด โดยใช้ช่องทางการสื่อสาร ผ่านสื่อใหม่ที่เป็นโปรแกรมประยุกต์ ชื่อ ไวเปอร์มากที่สุด รองลงมาตามลำดับคือ เฟซบุ๊ก สไกป์ อีเมล สแนป แชท อินสตาแกรม และไลน์ ในการสื่อสารเรื่องทั่วๆ ไปกับกลุ่มเพื่อนและใช้วิธีการสื่อสารสุขภาพกับผู้สูงอายุในครอบครัวด้วยการส่งข้อมูลจากโซเชียลมีเดียเพื่อแบ่งปันข่าวสารหรือสาระต่างๆ ที่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับการดูแล การป้องกันและการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ เพราะส่วนใหญ่ยังไม่มีความมั่นใจในความรู้ ความสามารถและข้อมูลด้านสุขอนามัยของตนเองมากนัก ยังรู้สึกไม่คุ้นเคยหรือรู้สึกกระดากอายกับการสื่อสาร เพื่อให้ข้อมูลด้านสุขภาพ และยังแสดงความคิดเห็นว่าการพูดคุยเรื่องดูแลสุขภาพทั้งสภาพร่างกายและสภาพ จิตใจควรพูดคุยกับผู้สูงอายุแบบใช้จิตวิทยาขั้นสูงควรเป็นหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ เช่น แพทย์พยาบาล และเห็นว่าถ้าจะมีการใช้สื่อใหม่เพื่อให้ข้อมูลเรื่องการดูแลสุขภาพกับผู้สูงอายุ ต้องให้ความรู้และฝึกฝนทักษะจน ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในการใช้สื่อใหม่ที่เพียงพอ จึงจะท าให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามที่ตั้งเป้าหมาย เอาไว้
In this study, the researcher required to learn about the satisfaction in using social media through new media on people’s mobile phones in order to enhance the quality of life of elderly’s family members. The information providers live in the cities of New Zealand which are Auckland, Hamilton, Rotorua, and Taupo. The findings of practical knowledge from case study will be brought to be a guideline for comparative research on this subject in Thailand. The study conclusion is shown that mobile phones have been used the most for communication and the outcome of consuming communication application through the new media in respectively order are; Wiper, Facebook, Skype, Email, Snapchat, Instagram, and Lines. The purpose of the communication is to chat with friends in general topics. And they apply health communication that related to elderly care by sharing and sending information from social media which presented in the news or web sites. This information from social media can be used to prevent and solve elderly health problems. Mainly because they are not confident in the ability of providing the correct health information and feeling unfamiliar or embarrassed to communicate in health information. And there are the comments about health care, both physical and mental condition. We should recommend the elderly to consult with Advanced Psychological specialists such as doctors or nurses. If the elderly is using new media to acquire the information on health care, we need to provide the knowledge and skills to make the elderly have a sufficient understanding of the new media. It will make efficient and effective purposes in using new media.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/43661/36092
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1492
ISSN: 1906 - 3431
Appears in Collections:Communication Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
New-Media-through-Social-Media .pdf93.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.