Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1500
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ช.ชยินทร์ เพ็ชญไพศิษฏ์ | - |
dc.contributor.author | Chor Chayin Petpaisit | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law | th |
dc.date.accessioned | 2023-12-14T13:35:15Z | - |
dc.date.available | 2023-12-14T13:35:15Z | - |
dc.date.issued | 2014 | - |
dc.identifier.citation | วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 4, 2, 2557 : 74-87 | th |
dc.identifier.issn | 2286-6965 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1500 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157894/114348 | - |
dc.description.abstract | ปัจจุบันปัญหาการหย่าร้างในสังคมไทยนับวันจะมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นจากหลาย ๆ สาเหตุ ซึ่งมีผลทำให้การการสมรสสิ้นสุดลง ซึ่งการหย่าร้างจะมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายก็ต่อเมื่อมีการจดทะเบียนหย่าและเมื่อมีการจดทะเบียนหย่าแล้วส่งผลให้สิ้นสุดความผูกพันทางกฎหมายไม่ก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่ของการเป็นสามีภริยาระหว่างกัน แต่ก็มีบางครอบครัวที่สามีภริยาที่ร้างกันหรือแยกกันอยูโดยมิได้จดทะเบียนหย่าถือว่าสถานะในทางกฎหมายยังคงเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายกันอยู่ ทำให้ยังคงมีความผูกพันทางกฎหมายในสิทธิและหน้าที่ของการเป็นสามีกริยาระหว่างกัน แม้ว่าต่างฝ้ายจะไม่ได้อยู่ร่วมกันแต่ยังคงมีความสัมพันธ์ในทางกฏหมาย ช่น การอุปการะเลี้ยงดู สินสมรส สิทธิในการรับมรดก เป็นต้น | th |
dc.description.abstract | It is true that, in current Thai society, the problem of divorce has been continually increased due to a lot of factors which result in the termination of married status. Under Thai family law, it obviously provides that the divorce is to be completely taken into effect when spouses aim to register a divorce certificate; consequently, the separation will not be legally completed as long as the certificate has not been registered. However, in reality, there are so many spouses who are living apart without registering the divorce certificate. This might lead to the legal problem of child support, marriage properties, or succession right. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | สามีภรรยา | th |
dc.subject | คู่สมรส | th |
dc.subject | Husband and wife | th |
dc.subject | Spouses | th |
dc.subject | กฎหมายการสสมรส | th |
dc.subject | Inheritance and succession | th |
dc.subject | ทายาท | th |
dc.subject | ทรัพย์สินร่วมระหว่างสามีภรรยา | th |
dc.title | ประเด็นทางกฎหมายของสามีภรรยาที่ร้างกันหรือแยกกันอยู่โดยมิได้หย่า | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Law - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Marriage-Property.pdf | 84.15 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.