Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1502
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวุฒิชัย เต็งพงศธร-
dc.contributor.authorWuthichai Tengpongsthorn-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Lawth
dc.date.accessioned2023-12-14T13:43:52Z-
dc.date.available2023-12-14T13:43:52Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.citationวารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 4,1 2556 : 55-62th
dc.identifier.issn2286-6965-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1502-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157881/114340-
dc.description.abstractมาตรการการแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นอย่างเป็นระบบและเห็นเป็นรูปธรรมในสังคมไทยนั้น เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ จากการประกาศใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ ส่งผลให้มีการจัดตั้งหน่วยงานในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นในประเทศขึ้นครั้งแรกภายใต้ชื่อ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (สำนักงาน ป.ป.ป.) แต่เนื่องจากการปฏิบัติงานป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ยังคงประสบปัญหาและอุปสรรคหลายประการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่กฎหมายซึ่งยังไม่เป็นรูปธรรมเท่าที่ควร ส่งผลให้เมื่อมีการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ผู้ร่างกฎหมายจึงได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบขององค์กรที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการทุจริตคอรัปชั่นเสียใหม่ โดยกำหนดให้มีองค์กรอิสระที่เป็นองค์กรหลักในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐแทนที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (สำนักงาน ป.ป.ป) องค์กรดังกล่าวมีชื่อว่า สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช)th
dc.description.abstractThe first measures to suppress corruption in Thailand had occurred since 1975 from the announcement of the Anti-Corruption Act in 1975. According to this Act, Thailand had been established the Anti-Corruption commission for the first time in the name of "The Counter Corruption Commission" (CCC). However, The Counter Corruption Commission was ineffective in many reasons. As a result, when the constitution of the Kingdom of Thailand had been revised in 1997, the lawmakers had decided to organize the Anti-Corruption commission by replaced the Counter Corruption Commission (CCC) to the National Counter Corruption Commission (NCCC).th
dc.language.isothth
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบth
dc.subjectCorruptionth
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติth
dc.subjectThe National Counter Corruption Commissionth
dc.titleความเป็นมาในการจัดตั้งคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในประเทศไทยth
dc.title.alternativeThe Establishment of the National Anti-Corruption in Thailandth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Law - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
National-Anti-Corruption-in-Thailand.pdf78.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.