Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1569
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลั่นทม จอนจวบทรง-
dc.contributor.authorณธภร ธรรมบุญวริศ-
dc.contributor.authorกิตติ เลิศกมลรักษ์-
dc.contributor.authorLanthom Jonjuabtong-
dc.contributor.authorNataporn Thammabunwarit-
dc.contributor.authorKitti Lertamolruk-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-01-03T14:14:58Z-
dc.date.available2024-01-03T14:14:58Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 8,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 145-164th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1569-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/125593/95111-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงคุณลักษณะและชนิดของทุนมนุษย์ เพื่อให้เห็นวิธีการสร้างทุนมนุษย์ และนำมาออกแบบเครื่องมือในการวัดทุนมนุษย์ โดยมุ่งเน้นที่ทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่น ในคนรุ่นใหม่ ที่มีความแตกต่างจากการสร้างและการวัดทุนมนุษย์ในบริบทขององค์กรผ่านกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การออกแบบเครื่องมือวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่น เรื่องผักพื้นบ้านสำหรับคนรุ่นใหม่ ได้เครื่องมือการวัดทุนมนุษย์ฯ ประกอบด้วยแบบสอบถาม 2 ชุด (สำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง) แบบสำรวจทรัพยากรการเรียนรู้ และบทสัมภาษณ์ผู้ปกครองและผู้ถ่ายทอดความรู้บทความชิ้นนี้จะนำเสนอผลการทดสอบในการใช้แบบสอบถามการวัดทุนมนุษย์ฯ และระดับทุนมนุษย์ ความรู้ท้องถิ่น เรื่องผักพื้นบ้านของคนรุ่นใหม่วัยเด็กระดับประถมศึกษาตอนปลาย ในเขตตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่เป็นป่ารอยต่อ 5 จังหวัดของภาคตะวันออกของประเทศไทยที่มีการส่งเสริมเรื่องการปลูกผักพื้นบ้าน ทั้งก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม และหลังการเข้าร่วมกิจกรรมสร้างทุนมนุษย์ฯ ผลการศึกษาพบว่าคนรุ่นใหม่ในเขตดังกล่าวมีทุนมนุษย์ฯ ระดับปานกลางก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมฯ และมีทุนมนุษย์ฯ เพิ่มขึ้นเป็นระดับมากหลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯ เป็นระยะเวลา 1 ปีการศึกษา โดยคะแนนทุนมนุษย์เฉลี่ยก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ One-way ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 โดยที่นักเรียนหญิงมีระดับทุนมนุษย์ฯ สูงกว่านักเรียนชาย และนักเรียนที่ผู้ปกครองเป็นสมาชิกกลุ่ม เกษตรอินทรีย์อำเภอสนามชัยเขตมีระดับทุนมนุษย์ฯ สูงกว่านักเรียนที่ผู้ปกครองไม่ได้เป็นสมาชิกกลุ่มดังกล่าว แต่คะแนนทุนมนุษย์เฉลี่ยไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อมีการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ One-way ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99th
dc.language.isothth
dc.subjectทุนมนุษย์th
dc.subjectHuman capitalth
dc.subjectผักพื้นบ้านth
dc.subjectIndigenous vegetablesth
dc.subjectภูมิปัญญาชาวบ้านth
dc.subjectLocal wisdomth
dc.titleการวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่นในคนรุ่นใหม่: กรณีศึกษาการวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่น เรื่องผักพื้นบ้านth
dc.title.alternativeThe Measurement of Human Capital in the Area of Indigenous Knowledge for the young generation: The Case Study of Indigenous Knowledge on Indigenous Vegetablesth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Business Administration - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Measurement-of-Human-Capital.pdf82.71 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.