Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1570
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมาริสสา อินทรเกิด-
dc.contributor.authorวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์-
dc.contributor.authorMarisa Intharakoed-
dc.contributor.authorViroj Jadesadalug-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Faculty of Management Scienceth
dc.date.accessioned2024-01-03T14:18:26Z-
dc.date.available2024-01-03T14:18:26Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 8,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 129-144th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1570-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/125590/95108-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการรับรู้การสนับสนุนของหัวหน้างาน 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อผลการปฏิบัติงาน 3. เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานที่มีผลต่อผลการปฏิบัติงาน 4. เพื่อศึกษาความเป็นตัวแปรกลางของการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างาน ในอิทธิพลระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและผลการทำงานโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรสายงานสนับสนุน ซึ่งปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง รวมทั้งสิ้น 165 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการอธิบายตัวแปร และใช้สถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple regression) ในการหาอิทธิพลระหว่างตัวแปรที่ทำการศึกษา มีข้อค้นพบจากการศึกษาดังนี้ การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การมีอิทธิพลต่อการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างาน การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การมีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงาน การรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างาน มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงาน และการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานมีลักษณะความเป็นตัวแปรกลางในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและผลการปฏิบัติงานth
dc.description.abstractThe objectives of this research are 1) To study on the influence of organizational support perception to supervisors’ support perception, 2) To study on the influence of organizational support perception to employees’ performance. 3) To study on the influence of supervisors’ supports perception to employees’ performance, 4) To study on the influence of the mediator of supervisors’ support perception to the influence of organizational support perception and performance. Data were collected by questionnaires. The population was the administrative staff of a private university. The sampling was 165 persons. The data analyzed with both descriptive statistic using Percentage, Mean, Standard Deviation and inference statistic using Multiple Regression Analysis. The results of the study were Organizational supports perception and Supervisors’ support had had impact on Job Performance, and Supervisors’ support perception has mediating effect on the relationship between Organization Support perception and Job Performance.th
dc.language.isothth
dc.subjectการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การth
dc.subjectPerceived Organization Supportth
dc.subjectความสามารถในการทำงานth
dc.subjectJob performanceth
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth
dc.subjectCorporate cultureth
dc.titleการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานที่ส่งผล ต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งth
dc.title.alternativeInfluence of Perceived Organization Support and Perceived Supervisor support toward Job Performance of Employee in The Private Universityth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Business Administration - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Perceived-Organization-Support.pdf80.63 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.