Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1594
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พัทธนันท์ เลิศคุณอธินนท์ | - |
dc.contributor.author | Pattanan Lertkoon-atinon | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | th |
dc.date.accessioned | 2024-01-06T01:51:39Z | - |
dc.date.available | 2024-01-06T01:51:39Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 17,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565) : 175-189 | th |
dc.identifier.other | https://doi.org/10.14456/lar.2022.20 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1594 | - |
dc.description | เข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/260439/177353 | - |
dc.description.abstract | บทความนี้มุ่งนำเสนอ ไทเก๊ก มรดกทางวัฒนธรรมของชนชาติจีน ซึ่งเป็นศาสตร์และศิลปะการต่อสู้ที่มีรูปแบบท่วงท่าที่หลากหลายแตกต่างกันออกไป แสดงออกถึงความแข็งแกร่งและอ่อนโยน ในรูปแบบการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างช้า ๆ ด้วยลีลาอันสง่างาม จากท่าหนึ่งสู่อีกท่าหนึ่งอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุดดั่งสายน้ำไหล ซึ่งแต่ละกระบวนท่าได้แรงบันดาลใจมาจากท่าทางการเคลื่อนไหวของสัตว์ รวมถึงปรัชญาความเชื่อของลัทธิเต๋า ขงจื่อ และการผสมผสานความรู้เรื่องการแพทย์แผนจีนโบราณเพื่อสร้างสมดุลของหยินหยาง เป็นลักษณะของความแตกต่างที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุล การรำมวยไทเก๊กจึงเป็นวิธีการกระตุ้นศักยภาพในร่างกายของคน เป็นการบริหารร่างกายและการฝึกสมาธิในรูปแบบการเคลื่อนไหวด้วยท่าทางที่นุ่มนวลและต่อเนื่องให้มีลักษณะคล้ายวงกลม โดยใช้ความรู้สึกและสมาธิควบคู่กันไปเพื่อนำการไหลเวียนของเลือดและลมหายใจไปปรับสมดุลของหยินหยางในร่างกาย ดังนั้นการรำมวยไทเก๊กจึงเป็นการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับทุกเพศ ทุกวัย มีประโยชน์ต่อการพัฒนาร่างกาย จิตใจและสังคม รวมทั้งช่วยป้องกันและรักษาโรค เชื่อมโยงกันจนเกิดเป็นความสมดุลของชีวิต | th |
dc.description.abstract | This article aimed to present Tai Chi, the cultural heritage of the Chinese people which has been a science and martial arts that has a variety of different postures. Tai chi shows strength and tenderness in the form of slow body movements with graceful style from one pose to another continuously without stopping like a flowing stream. Each move has been inspired by the movements of animals, including the philosophy of Taoism, Confucianism, and the combination of knowledge of traditional Chinese medicine to balance the Yin and Yang. It is the nature of differences that can coexist in balance. Tai Chi is a way to stimulate the potential in the body of a person. It is a form of exercise and meditation in gentle, continuous movements in a circle using feeling and meditation together to regulate blood flow and achieve proper breathing. This has helped balancing Yin and Yang in the body. Therefore, Tai Chi has been an exercise suitable for all genders and ages. It is beneficial to the development of the body, mind and society, as well as to prevent and cure diseases, which lead to a balance of life. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ไทเก๊ก | th |
dc.subject | ไทชิ | th |
dc.subject | Tai chi | th |
dc.subject | หยินหยาง | th |
dc.subject | Yin-yang | th |
dc.title | ไท้เก๊ก: ศาสตร์แห่งการสร้างความสมดุลของชีวิต | th |
dc.title.alternative | Tai-Chi: Science of Life Balance | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tai-Chi.pdf | 77.32 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.