Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมหญิง งามอุรุเลิศ-
dc.contributor.authorอิสยา จันทร์วิทยานุชิต-
dc.contributor.authorสุมลรัตน์ ชูวงษ์วัฒนะ-
dc.contributor.authorสุดา ลุยศิริโรจนกุล-
dc.contributor.authorประเสริฐ เอื้อวรากุล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะแพทยศาสตร์th
dc.date.accessioned2024-01-22T06:05:43Z-
dc.date.available2024-01-22T06:05:43Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.citationสงขลานครินทร์เวชสาร 35,1 (ม.ค.-มี.ค. 2560) : 47-53th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1649-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ http://smj.medicine.psu.ac.th/index.php/smj/article/view/621/630-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: ศึกษาความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และภาวะติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีแบบซ่อนเร้นในคนไทยสุขภาพดี ซึ่งเกิดหลังนโยบายแผนงานขยายการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไวรัสตับอักเสบบี (hepatitis B virus; HBV) ในทารกแรกเกิด วัสดุและวิธีการ: ซีรั่มจากนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นอาสาสมัครที่มีสุขภาพดี จำ นวนทั้งสิ้น 5,886 คน ระหว่างปี พ.ศ 2552-2554 ทดสอบการติดเชื้อด้วยการตรวจ serological markers ของ hepatitis B virus ได้แก่ hepatitis B surface antigen (HBsAg) แอนติบอดีต่อ hepatitis B surface antigen (anti-HBs) และ hepatitis B core antigen (anti-HBc) ด้วยวิธี immunochromato graphy rapid assay (Alcon, USA) ในกรณีตัวอย่างที่ให้ผลบวกต่อ anti-HBc เพียงอย่างเดียวจะทดสอบซ้ำ ด้วยวิธี chemiluminescence enzyme immunoassay (EIA) (Architech, USA) และตรวจหา HBV DNA โดยวิธี nested polymerase chain reaction ในบริเวณเปลือก (surface) และแกนกลาง (core) เพื่อค้นหาการติดเชื้อแบบซ่อนเร้น ผลการศึกษา: นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างคนไทยสุขภาพดีที่ได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีมาตั้งแต่แรกคลอด ผลการศึกษาตรวจไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี โดยตรวจไม่พบ HBV markers ใดๆ ร้อยละ 78 (4,593/5,886) มีภูมิคุ้มกัน จากการฉีดวัคซีนโดยพบแต่ anti-HBs อย่างเดียวร้อยละ 18.4 (1,083/5,886) ตรวจพบการติดเชื้อโดยพบ markers ของการติดเชื้อ ร้อยละ 3.6 (210/5,886) มีรูปแบบดังนี้ (1) มีภูมิจากการติดเชื้อโดยพบ anti-HBs, anti-HBc ร้อยละ 61.9 (130/210) (2) มีการ ติดเชื้อร้อยละ 38.1 (80/210) จำแนกเป็นพบ HBsAg และ anti-HBc ร้อยละ 28.6 (60/210) พบ HBsAg อย่างเดียว (HBsAg alone) ร้อยละ 3.8 (8/210) พบ anti-HBc อย่างเดียว (anti-HBc alone) ร้อยละ 5.7 (12/210) ซึ่งกลุ่มที่พบ anti-HBc อย่างเดียว ให้ผลการตรวจซ้ำ ด้วยเทคนิค chemiluminescence EIA และ HBV DNA ในเลือดเป็นผลลบ สรุป: พบความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีลดลงเหลือร้อยละ 3.6 (210/5,886) และพบผู้ติดเชื้อร้อยละ 1.4 (80/5,886) แอนติบอดีส่วนใหญ่ที่ได้รับจากวัคซีนลดต่ำ ลงอย่างมากจนตรวจไม่พบและไม่พบการติดเชื้อซ่อนเร้น แสดงถึงประสิทธิภาพ ของนโยบายแผนงานขยายการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไวรัสตับอักเสบบีในทารกแรกเกิดบรรลุเป้าหมายth
dc.description.abstractObjective: To investigate the prevalence of hepatitis B virus (HBV) infection and to diagnose an occult HBV infection in healthy Thai subjects after implementation of the expanded program on immunization (EPI) in newborns. Material and Method: The detection of HBsAg, anti-HBs and anti-HBc was done from serum samples of 5,886 healthy first year students from Huachiew Chalermprakiet University collected between 2009-2011 by immunochromatography rapid assay (Alcon, USA). In case of only anti-HBc positive, the results were confirmed with chemiluminescence enzyme immunoassay (EIA) method and then they were investigated further for HBV occult infection by nested polymerase chain reaction technique. Results: A total of 78% (4,593/5,886) healthy first year students who had been vaccinated with HBV vaccine since birth were found to have no HBV markers, while 18.4% (1,083/5,886) had only anti-HBs. The prevalence of infection was 3.6% (210/5,886). Identification of patterns of HBV infection among the 210 infected subjects found that (1) Immuned due to past infection was 61.9% (130/210) (2) Infected with hepatitis B virus was 38.1% (80/120). The prevalence of both HBsAg and anti-HBc was 28.6% (60/210), while the prevalences of HBsAg and Anti-HBc alone were 3.8% (8/210) and 5.7% (12/210), respectively. Anti-HBc alone group was repeated with chemiluminescence EIA and HBV DNA was negative. Conclusion: The prevalence of HBV infection was 3.6% (210/5,886), however, seropositive rate of HBV infection was 1.4% (80/5,886). Most antibodies from vaccination had substantially declined to the point that it was undetectable. Therefore, the overall study showed an effective implementation of EPI in newborns.th
dc.language.isothth
dc.subjectไวรัสตับอักเสบบีth
dc.subjectHepatitis B virusth
dc.subjectการติดเชื้อth
dc.subjectInfectionth
dc.titleความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในคนไทยสุขภาพดีภายหลังนโยบาย แผนงานขยายการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไวรัสตับอักเสบบีในทารกแรกเกิดth
dc.title.alternativePrevalence of Hepatitis B Virus Infection in Healthy Thai People after Implementation of the Expanded Program on Immunizationth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Medical Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prevalence-of-Hepatitis-B-Virus-Infection .pdf80.15 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.