Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรทิพย์ พึ่งม่วง-
dc.contributor.authorปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ-
dc.contributor.authorศราวุธ สุทธิรัตน์-
dc.contributor.authorวัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์-
dc.contributor.authorสุชา จุลสำลี-
dc.contributor.authorสราวุธ สายจันมา-
dc.contributor.authorเพ็ญนภา ชมะวิต-
dc.contributor.authorชลันดา กองมะเริง-
dc.contributor.authorจิรวัส ประทุมวัน-
dc.contributor.authorPorntip Paungmoung-
dc.contributor.authorPanthip Rattanasinganchan-
dc.contributor.authorSarawut Suttirat-
dc.contributor.authorWatcharin Rangsipanuratn-
dc.contributor.authorSucha Chulsomlee-
dc.contributor.authorSarawut Saichanma-
dc.contributor.authorPennapa Chamavit-
dc.contributor.authorChalunda Kongmaroeng-
dc.contributor.authorJirawat Pratumwan-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technologyth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology-
dc.date.accessioned2024-02-18T05:37:09Z-
dc.date.available2024-02-18T05:37:09Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1714-
dc.description.abstractคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้ประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ ฉบับพุทธศักราช 2548 เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาโดยใช้รูปแบบการประเมินหลักสูตรตามหลักการของ สตัฟเฟิลบีม หรือ CIPP Model โดยนำผลการวิจัยที่ได้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการเรียนการสอนในปี พ.ศ. 2555 งานวิจัยนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษาซึ่งมีการประเมินผลความพึงพอใจ/ระดับความคิดเห็น โดยใช้มาตราวัดแบบลิเคอร์ท ประเมินกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง 6 กลุ่ม ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ จำนวน 14 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ จำนวน 89 คน บัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ จำนวน 102 คน นักศึกษาปัจจุบันหลักสูตรเทคนิคการแพทย์ สาขาเทคนิคการแพทย์ จำนวน 109 คน ผู้บังคับบัญชาบัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ จำนวน 39 คน และอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาชาวิชาเทคนิคการแพทย์ จำนวน 29 คน ผลการประเมินด้านบริบท การประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น การประเมินกระบวนการ และการประเมินผลผลิต พบว่าโครงสร้างหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ ในภาพรวมมีความเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรในระดับดีที่ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.90+-0.025 คะแนน และมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการปรับปรุงโครงสร้างหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับวิทยาการก้าวหน้าในปัจจุบัน การฝึกทักษะในการปฏิบัติงานในด้านวิชาชีพทุกแขนงวิชา ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ การเรียนรู้ด้วยตนเอง และส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรมจรรยาบรรณ เพื่อให้เป็นบัณฑิตที่ถึงพร้อมด้วยความรู้คู่คุณธรรมสมดังปณิธานของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.description.abstractThe Medical Technology Faculty at Huachiew Chalermprakiet University assessed its Medical Technology program for the purpose of evaluating the quality of the 2005 curriculum by using Stuffelbeam or CIPP model. Outcones from the study will be used as a guideline for the improvement and development of the 2012 curriculum. The study was a survey research that used questionnaires containing the level of agreement or disagreement/opinion scale measured by using Likert-type scale. The study included six representative samples consisting of 14 medical technology (B.S.) program experts, 89 fourth-year medical technology students, 102 medical technology (B.S.) graduated, 109 current medical technology students, 39 medical technology (B.S.) graduates' supervisors, and 29 medical technology academic instructors. After assessing concept, basic factors, process and output, the study found that the Medical Technology (B.S.) curriculum as whole was rated as good standing with a score of 3.90 +- 0.025. Suggestions included providing more professional skill trainings, improving English skills, allowing self-learning, and encouraging and indoctrinating virture and morals in order to make graduates live up to Huachiew Chalermprakiet University's high standards of knowledge and virtue.th
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2551th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth
dc.subjectCurriculum evaluationth
dc.subjectเทคนิคการแพทย์ -- หลักสูตรth
dc.subjectMedical technology -- Curriculath
dc.subjectเทคนิคการแพทย์ -- การศึกษาและการสอนth
dc.subjectMedical technology -- Study and teachingth
dc.titleการประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ ฉบับปีพุทธศักราช 2548 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.title.alternativeThe Evaluation of Medical Technology Curriculum : Bachelor’s Degree Program, Academic Year 2005, Huachiew Chalermprakiet Universityth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Medical Technology - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Porntip-Peungmuang.pdf12.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.