Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชุติระ ระบอบ-
dc.contributor.authorอดุลย์ นงภา-
dc.contributor.authorณภัทร ศรีนวล-
dc.contributor.authorChutira Rabob-
dc.contributor.authorAdul Nongpa-
dc.contributor.authorNapat Srinual-
dc.contributor.authorHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-02-18T14:05:43Z-
dc.date.available2024-02-18T14:05:43Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1720-
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (หลักสูตรรปรับปรุง 2554) โดยใช้ตัวแบบ CIPP Model ของ Danile L. Stufflebeam เป็นการประเมินทั้งด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตร ได้แก่ นักศึกษาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรและอาจารย์พิเศษ นายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ และการประชุมกลุ่มย่อย การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติอย่างง่ายในรูปร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้ดังนี้ ด้านปัจจัยนำเข้า ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ มีคุณธรรมและจิตสำนึกในความเป็นครู (x̄ = 4.22) ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เนื้อหาแต่ละรายวิชาไม่ซ้ำซ้อนกั (x̄ = 3.69) ด้านปัจจัยกระบวนการ ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การให้คำปรึกษามีความถูกต้องชัดเจน (x̄ = 4.28) ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ จำนวนอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษามีสัดส่วนที่เหมาะสม (x̄ = 3.70) ด้านผลผลิตของหลักสูตร ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ซื่อสัตย์ในการทำงาน (x̄ = 4.41) ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ภาษาต่างประเทศที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน (x̄ = 3.52) สำหรับปัจจัยด้านบริบท ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ สถานที่เงียบสงบและเหมาะกับการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ (x̄ = 4.21) ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ หนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ์ และเอกสารอื่นๆ เพียงพอต่อความต้องการของหลักสูตร (x̄ = 3.80) จากผลการประชุมกลุ่มย่อย จุดอ่อนที่สำคัญของหลักสูตรที่ควรพัฒนาและปรับปรุง ได้แก่ ความรู้ด้านภาษาต่างประเทศของบัณฑิตth
dc.description.abstractThis research aimed to evaluate the Bachelor Degree Program in Business Administration (Logistics and Supply Chain Management) (Revised Curriculum 2011) and to analyze the curriculum's guideline to improve and develop in accordance with learner's need and society requirement in accordance with Thailand Qualifications Framework in Higher Education. The evaluation research was based on the Daniel L. Stufflebeam CIPP Model comprised of 4 factors : context, input, process and outputs, the simple included stakeholder such as current students, lecturers, graduates and employers. The research instrument's were questionnaires, interviews and focus group by using simple statistics ; frequency, average, standard deviation and descriptive data analyzed. The results of this research included 1) Input : both moral and sense of lecturer were maximum scored average (x̄ = 4.25), the subject matter were not overlap was a minimum scored average. 2) Process : the highest score average factor was supervisor's clarity and rightness of instruction. (x̄ = 4.28), the minimum score average was the proportion between instructors and student (x̄ = 3.70), 3) Output : the highest score average factor was the honesty (x̄ = 4.41), the minimum score average was foreign language proficiency (x̄ = 3.52). 4) Context : the highest score average factor was the quiet place for learning environment (x̄ = 4.21), the minimum score average was the quantity of books, journals, theses and other documents were insufficiency. The improvement for foreign language skill of the graduated was recommended from focus group resulted.th
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2557th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth
dc.subjectCurriculum evaluationth
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์ -- การศึกษาและการสอนth
dc.subjectBusiness logistics -- Study and teachingth
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์ -- หลักสูตรth
dc.subjectBusiness logistics -- Curriculath
dc.titleโครงการวิจัยประเมินหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (หลักสูตรปรับปรุง 2554) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.title.alternativeการวิจัยประเมินหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (หลักสูตรปรับปรุง 2554) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.title.alternativeThe Evaluation of Brance Degree Program in Business Administration (Logistics and Supply Chain Management) (Revised Curriculum 2011) Business Administration Faculty Huachiew Chalermprakiet Universityth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Business Administration - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutira-Rabob.pdf8.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.