Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1722
Title: การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน พ.ศ.2549 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Other Titles: The Evaluation of Chinese Major Curriculum (2006) Bachelor's Degree Program, Department of Chinese, Faculty of Liberal Arts Huachiew Chalermprakiet University
Authors: ธเนศ อิ่มสำราญ
ไพศาล ทองสัมฤทธิ์
กิติกา กรชาลกุล
ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ
ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว
จันทิมา จิรชูสกุล
ณัฐรัตน์ วงศ์พิทักษ์
Thanet Imsamran
Phaisan Thongsamrit
Kitika Karachalkul
Thumwadee Siripanyathiti
Siriphen Kamphangkaew
Chanthima Chirachoosakul
Nattarat Wongpitak
尹士伟
陈慕贤
王燕琛
刘淑莲
姚倩儒
周美华
张海燕
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Keywords: การประเมินหลักสูตร
Curriculum evaluation
ภาษาจีน -- หลักสูตร
Chinese language -- Curricula
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
Issue Date: 2011
Publisher: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Abstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2549 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยประเมินหลักสูตรใน 5 ด้าน 1. ความเหมาะสมของโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร 2. กระบวนการบริหารจัดการเรียนการสอน 3. ผลของการใช้หลักสูตร 4. ทิศทางของหลักสูตรในอนาคต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประเมิน ได้แก่ กลุ่มที่ 1 บัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2553 มีจำนวน 83 ชุด กลุ่มที่ 2 นักศึกษา สาขาวิชาภาษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งแจ้งสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2553 มีจำนวน 56 ชุด กลุ่มที่ 3 อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งได้ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน มีจำนวน 10 ชุด กลุ่มที่ 4 ผู้ใช้บัณฑิตหรือนายจ้างบัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีจำนวน 10 ชุด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าระดับความคิดเห็นเฉลี่ย โดยคำนวณด้วยโปรแกรม SPSS ผลการวิจัยสรุปผลได้ดังนี้ จากผลการวิเคราะห์ที่ได้ จะเห็นได้ว่าในภาพรวมส่วนใหญ่ที่มีต่อหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาจีน) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2549 นี้อยู่ในระดับที่ดีมาก โดยมีความสอดคล้องกันทั้งจาก 4 กลุ่มตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ บัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2553 มีความคิดเห็นเกียวกับโครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการหลักสูตรและมีความพึงพอใจเกี่ยวกับประสิทธิผลของหลักสูตร (หลังจากสำเร็จการศึกษา) อยู่ในระดับมาก นักศึกษา สาขาวิชาภาษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งแจ้งสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2553 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและการบริหารจัดการหลักสูตร และมีความพึงพอใจเกี่ยวกับประสิทธิผลของหลักสูตร (ขณะแจ้งสำเร็จการศึกษา) อยู่ในระดับมาก อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการหลักสูตร อยู่ในระดับมาก ผู้ใช้บัณฑิตหรือนายจ้างบัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีความพึงพอใจที่ท่านมีต่อบัณฑิตในด้านต่างๆ อยู่ในระดับมากที่สุด
The purpose of this research was to evaluate Chinese major curriculum 2003, revised version, for Bachelor Degree in Liberal Arts, Huachiew Chalermprakiet University. The study evaluated five aspects: 1) the appropriateness of curriculum structure, including its content, 2) process of teaching and learning administration, 3) outcome of the curriculum usage, 4) trand of the future curriculum. The samples applied in this study consisted as follows: Group 1: 83 graduated students of Chinese in the year 2010, Bachelor of Arts Program, Faculty of Chinese Language and Culture. Group 2: 56 Chinese students who are graduating in the year 2010, Bachelor of Arts Program, Faculty of Chinese Language and Culture. Group 3: 10 Chinese lecturers. Department of Chinese, Faculty of Chinese Language and Culture. Group 4: 10 Chinese graduates' employers. The reserach data were collected by using the questionnaire of 4 level scales and statistical analysis of data were the frequency , the percentage, the levle of the average, and the data was calculated using SPSS. The research results are as follows: The results show that overall the attitude toward the Bachelor of Arts Program (Chinese), revised in 2006, was very good. The consensus from the four groups of samples is as follows: Graduates students in the year 2010 of Chinese Bachelor of Arts Program, Faculty of Chinese Language and Culture, are satisfied with the content and the structure and course management and their satisfaction with the effectiveness of the course (after graduation) is at high level. Chinese students who were graduating in the year 2010, Bachelor of Arts Program, Faculty of Chinese Language and Culture, HCU, show their satisfaction with the effectiveness of the structure and management courses in a high level. Lecturers of Chinese Bachelor of Arts Program, Faculty of Chinese Language and Culture, show their opinion about the structure and course content, including management courses in a high level. And the employers of the Chinese graduate, Bachelor of Arts Program, Faculty of Chinese Language and Culture, HCU, show their high satisfaction toward the graudates in various abilities.
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1722
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanes-Imsumran.pdf5.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.