Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีนา เลิศแสนพร-
dc.contributor.advisorAreena Lertsaenporn-
dc.contributor.authorณัฐพล อยู่ประยูร-
dc.contributor.authorNattapol Yuprayoon-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2024-02-23T08:43:59Z-
dc.date.available2024-02-23T08:43:59Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1759-
dc.description.abstractการศึกษาอิสระเรื่อง ความสัมพันธ์ของการอบรมเลี้ยงดูกับการปรับตัวทางสังคมของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด : ศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาลักษณะการอบรมเลี้ยงดูของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลให้ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ได้รับการอบรมเลี้ยงดูต่างกัน (3) เพื่อศึกษาการปรับตัวของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (4) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลให้ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีการปรับตัวต่างกัน (5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการอบรมเลี้ยงดูกับการปรับตัวของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด โดยผลการศึกษาพบว่า การปรับตัวของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จังหวัดสมุทรปราการ มีผลมาจากปัจจัยด้านการอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครอง โดยผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยจะมีความสามารถในการปรับตัวทางสังคมได้ดีกว่าผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่่ได้รับการอบรมแบบควบคุมใช้อำนาจมากเกินไป และแบบปล่อยปละละเลย โดยเพศมีความสัมพันธ์กับการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย การศึกษามีความสัมพันธ์กับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย การอบรมเลี้ยงดูแบบควบคุมใช้อำนาจ การเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลยและอาชีพมีความสัมพันธ์กับการอบรมเลี้้ยงดูแบบประชาธิปไตย นอกจากนี้การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดูทั้ง 3 แบบกับการปรับตัวทางสังคม พบว่า การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย และการปรับตัวทางสังคมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในระดับปานกลาง (R=.479) โดยหมายความว่าผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบบประชาธิปไตยสูง ทำให้มีการปรับตัวทางสังคมสูงไปด้วย ซึ่งสอดคล้องกับผลงานของสุวิทย์ ดวงเวียง (2539) ที่ได้ทำการทดลองศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีผลต่อการปรับตัวจากครอบครัวของผู้ติดยาเสพติด ที่พบว่ากลุ่มทดลองที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มมีการปรับตัวกับครอบครัวในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้คือ (1) ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเหล่านี้ โดยทั่วไปมีการปรับตัวทางสังคมในระดับสูง ถ้าได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (2) ในส่วนของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่มีการปรับตัวทางสังคมในระดับต่ำ เช่น การพูดคุยให้กำลังใจและให้คำปรึกษาแนะนำต่างๆ ครอบครัวควรเอาใจใส่ ดูแล ช่วยเหลือและติดตาม (3) ในการศึกษาการปรับตัวทางสังคมของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดครั้งต่อไปควรมีการศึกษาโดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีอยู่ทั่วประเทศ เพื่อที่การศึกษาจะได้ทราบถึงผลการศึกษาจากสถานที่และลักษณะทางครอบครัวที่ต่างกันth
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectผู้ติดยาเสพติด -- การฟื้นฟูสมรรถภาพth
dc.subjectDrug addicts -- Rehabilitationth
dc.subjectการปรับตัวทางสังคมth
dc.subjectSocial adjustmentth
dc.titleความสัมพันธ์ของการอบรมเลี้ยงดูกับการปรับตัวทางสังคมของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด : ศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสมุทรปราการth
dc.title.alternativeThe Relationship of Child Rearing Styles and Social Adjustment of the Drug Addicts Who Passed Compulsory Rehabilitation Course of Probation Department : A Case Study of Samutprakan Provinceth
dc.typeIndependent Studiesth
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการบริหารสังคมth
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattapon-Youprayoon.pdf
  Restricted Access
2.21 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.