Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1774
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นวลใย วัฒนกูล | - |
dc.contributor.author | Nuanyai Wattanakoon | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-02T09:18:14Z | - |
dc.date.available | 2024-03-02T09:18:14Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.citation | วารสารสังคมภิวัฒน์ 13,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565) : 72-90 | th |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1774 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/thaijss/article/view/260670/176613 | th |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงเพื่อศึกษาการจัดการตนเองของชุมชนเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในหมู่บ้านพฤกษา 86/1 ตําบลศีรษะจระเข้น้อง อําเภอบางเสาธง จังหสัดสมุทรปราการ ศึกษาโดยใช้การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาAfter Action Review:AARการตั้งวงคุยเรื่องผลลัพธ์ระหว่างและสิ้นสุดการดําเนินโครงการผลการศึกษาพบว่า 1) สถานการณ์ผู้สูงอายุจากปัญหาเริ่มต้นคือหมู่บ้านจัดสรรเป็นหมู่บ้านตั้งขึ้นใหม่ด้วยปัญหาผู้สูงอายุมาจากต่างจังหวัดทั่วประเทศมาอยู่กับลูกเพื่อดูแลหลาน อยู่บ้านตามลําพังตอนกลางวันมีความเสี่ยงที่จะเป็นนโรคซึมเศร้า และมีปัญหาสุขภาพเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แต่สิทธิการรักษาพยาบาลยังอยู่ต่างจังหวัด 2)ผลการดําเนินโครงการผ่านแนวคิดชุมชนจัดการตนเอง และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระดับชุมชน ได้บทเรียนที่สําคัญได้เกิดกลไกระดับชุมชนคือชมรมผู้สูงอายุ แกนนําได้รับการพัฒนาผ่านการประชุม สัมมนา อบรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งในและนอกชุมชน ชมรมผู้สูงอายุสามารถจัดกิจกรรม การวางแผน ดําเนินการ ติดตามและประเมินผลแผน รวมถึงการติดต่อประสานความร่วมมือจากภายนอกหมู่บ้านเพื่อประโยชน์ของผู้สูงอายุในชุมชนได้3)ผู้สูงอายุมีความสุขเพิ่มขึ้น การรเข้าร่วมกิจกรรมการพบปะพูดคุย ออกกําลังกายและเป็นแล่งเรียนรู้ ทําให้เกิดพลังและสายสัมพันธ์ขึ้นในชุมชนใหม่ที่ไม่คุ้นเคย เป็นคุ้นเคยไม่แปลกแยกรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งมีคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ส่งผลให้หมู่บ้านพฤกษา 86/1 เป็นชุมชนน่าอยู่เกิดความรักสามัคคี คนในชุมชนหันมารับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้นยอมจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบํารุงส่วนกลาง ข้อเสนอแนะควรส่งเสริมให้ดําเนินการต่อเนื่องอีก 2 ปีเพื่อยืนยันความเข้มแข็งและต่อเนื่องผลการดําเนินงานที่กล่าวข้างต้นเนการดําเนินมาเพียง 1 รอบปี จําเป็นต้องดําเนินต่อเพื่อสร้างความเข้มแข็งและความต่อเนื่องให้เห็นผลเชิงประจักษ์มากขึ้น | th |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to study community self-management to promote health of the elderly in Pruksa 86/1 Village, Sisa Chorakhe Noi Sub-district. Bang Sao Thong District Samut Prakan Province. By using Learning and Development Assessment After Action Review: AAR Discussing outcomes during and at the end of the project.Results were that 1) From the initial problem, the village was allocated to a new village. Elderly people with elderly problems come from all over the country to live with their children to take care of their grandchildren. Staying at home alone at home during the day is at risk of developing depression. Moreover, they have Non-communicable diseases, but the right to medical treatment is still in the provinces. 2)The project outcomes learned important lessons through the self-management community concept and human resource development at the community level. A community-level mechanism was formed, namely the elderly club. Leaders are developed through meetings, seminars, training sessions, and learning exchange platforms, both inside and outside the community. The committee of elderly clubs can organize activities, plan, implement, monitor, and evaluate plans, including contacting and cooperating from outside the village for the benefitof the elderly in the community. 3) Elderly people are happy to go up from participating in socializing activities, exercising and being a learning platform. Bringing strength and connection to a new, unfamiliar community. Being familiar, not alienated, feels like a valuable part of human dignity. As a result, Pruksa 86/1 Village is a livable community, resulting in love and unity. People in the community have turned more socially responsible and are willing to pay for the maintenance of the common area. Recommendations should be encouraged to continue for another two years to ensure strength and continuity. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย | th |
dc.subject | Older people -- Health and hygiene | th |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | th |
dc.subject | Health promotion | th |
dc.subject | บ้านจัดสรร | th |
dc.subject | Housing | th |
dc.subject | หมู่บ้านพฤกษา (บางเสาธง, สมุทรปราการ) | th |
dc.subject | Pruksa Village (Bang Sao Thong, Samut Prakan) | th |
dc.title | การส่งเสริมการจัดการตนเองของหมู่บ้านจัดสรรเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กรณีหมู่บ้านพฤกษา 86/1 ตำบลศีรษะจระเข้น้อย อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ | th |
dc.title.alternative | Self-management Promotion of Housing Estates to Promote the Health of the Elderly in the Case of Pruksa Village, 86/1 Sisa Chorakhe Noi Sub-district Bang Sao Thong District, Samut Prakan Province | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Social Work and Social Welfare - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Promote-the-Health-of-the-Elderly.pdf | 80.66 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.