Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1775
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พรรณปพร ลีวิโรจน์ | - |
dc.contributor.author | Panpaporn Leeviroj | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-02T14:35:18Z | - |
dc.date.available | 2024-03-02T14:35:18Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.citation | วารสารสังคมภิวัฒน์ 12, 3 (2564) : 57-68 | th |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1775 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มมได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/thaijss/article/view/256392/174053 | th |
dc.description.abstract | ความเหลื่อมล้ำทางสังคมในประเทศไทยมีปัญหาเรื้อรังอันยาวนาน และยิ่งไปกว่านั้นการระบาดของโควิด-19 ยิ่งเพิ่มความเหลื่อมล้ำทางสังคมขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มคนจนหรือกลุ่มเปราะบางทางสังคม จะได้รับผลกระทบมากที่สุด เนื่องจากขาดรายได้จากมาตรการ Lock down จึงไม่สามารถทำงานรายวันได้ รวมทั้งการปิดตัวของธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง และการสร้างชีวิต New Normal หลังจากการระบาดของโควิด-19 ยิ่งตอกย้ำความเลื่อมล้ำทางสังคมในหลากหลายมิติเพิ่มมากขึ้น เช่น การประกอบอาชีพ รายได้ สุขภาพและการศึกษา อย่างไรก็ตามวิกฤตครั้งนี้อาจเป็นโอกาสที่ดี ทำให้ประชาสังคมได้ตระหนักถึงความสำคัญของความเหลื่อมล้ำมากขึ้น และมองเห็นช่องว่างของระบบสวัสดิการของรัฐในกลุ่มนี้มากขึ้น ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายและมาตรการต่างๆ ที่เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม เพื่อบรรลุยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในช่วง 5 ปี ต่อจากนี้ไปให้ลุล่วงไปได้ | th |
dc.description.abstract | Social inequality in Thailand has long been a chronic and potentially more serious issue following the COVID-19 crisis, especially the poor or socially vulnerable most affected by the lack of income from Lock down measures and shutdowns of small and medium businesses. This increases the gap between the poor and the rich, such as employment, income, health, and education. However, this crisis can be a great opportunity for social work. As it has made civil society more focused on the problem of inequality and see more of the gaps in the state welfare system that help achieve a change in the direction that facilitates the advocacy of policies and measures to address social inequality problems for attaining the strategy of creating fairness and reducing inequality over the next 5 years. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | ความเหลื่อมล้ำทางสังคม | th |
dc.subject | ความเสมอภาค | th |
dc.subject | Equality | th |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th |
dc.title | วิกฤต COVID-19 เพิ่มความเหลื่อมล้ำทางสังคมอย่างมาก | th |
dc.title.alternative | The COVID-19 Crisis Has Greatly Increased Social Inequality | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Social Work and Social Welfare - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Equality.pdf | 75.15 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.