Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1783
Title: การจัดการรายกรณีเพื่อคุ้มครองเด็ก: แนวคิดและการปฏิบัติ
Other Titles: Case Management for Child Protection: Concepts, and Implementation
Authors: นุชนาฎ ยูฮันเงาะ
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร
Nutchanat Yuhanngoh
Jaturong Boonyarattanasoontorn
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare
Keywords: Social policy
นโยบายสังคม
Sexually abused children
เด็กที่ถูกทารุณทางเพศ
การล่วงละเมิด
Child Well-being
เด็ก -- คุณภาพชีวิต
เด็กที่ถูกทารุณ
การสังเคราะห์เด็ก
Child welfare
Issue Date: 2020
Citation: วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 28, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563) : 1-24
Abstract: อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ปี 1989 บัญญัติว่า เด็กไม่ใช่วัตถุที่เป็นสมบัติของผู้ปกครอง และสําหรับใครก็ตามที่จะตัดสินใจแทน เด็กเป็นมนุษย์ปุตุชนคนหนึ่งที่มีสิทธิของตนเอง เด็กจะต้องเติบโต เรียนรู้ พัฒนา และมีศักดิ์ศรี อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้ทําให้รัฐที่เป็นภาคีของอนุสัญญานี้ต้องเปลี่ยนแปลงกฎหมาย นโยบาย และลงทุนเพื่อให้เด็กได้รับการดูแลทางสุขภาพและโภชนาการเพื่อการมีชีวิตอยู่ และได้รับการคุ้มครองจากการถูกกระทําด้วยความรุนแรงและการเอารัดเอาเปรียบ อนุสัญญายังช่วยให้เสียงของเด็กได้รับการรับฟังและการมีส่วนร่วมในสังคม ถึงแม้ว่าจะมีความก้าวหน้ามากขึ้น แต่อนุสัญญาก็ยังไม่ถูกนําไปสู่การปฏิบัติอย่างเติมรูปแบบหรือไม่เป็นที่รับรู้และเข้าใจอย่างกว้างขวางเท่าที่ควร ยังคงมีเด็กหลายล้านคนที่ทุกข์ทรมาณจากการถูกละเมิดสิทธิเมื่อพวกเขาถูกปฏิเสธที่จะได้รับการดูแลด้านสุขภาพ โภชนาการ การศึกษา และการคุ้มครองจากการกระทําด้วยความรุนแรง ชีวิตในวัยเด็กถูกทําให้สั้นลง เมื่อเด็กถูกบีบบังคับให้ออกจากโรงเรียน ต้องทํางานที่อันตราย แต่งงาน ต่อสู้ในสงคราม หรือถูกคุมขังอยู่ในเรือนจําเด็ก การจัดการรายกรณีเป็นวิธีการของการรวมกลุ่มและการดําเนินการเพื่อช่วยให้เด็กแต่ละคนได้รับสิ่งที่ต้องการอย่างเหมาะสม เป็นระบบ และในช่วงเวลาที่เหมาะสมผ่านการสนับสนุนโดยตรง และ/หรือการส่งต่อ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการหรือแผนงาน การจัดการรายกรณีสามารถให้การสนับสนุนในกรณีฉุกเฉินและการพัฒนาที่จัดขึ้นเพื่อที่จะระบุช่วงของปัญหา รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองเด็กบริการจัดการรายกรณีสามารถทําให้เป็นส่วนหนึ่งชองแผนงานที่ระบุถึงความต้องการของเด็กที่มีความเปราะบางหรือความเสี่ยง เช่น การถูกแยกตัวหรือการถูกเอารัดเอาเปรียบทางเพศ หรืออาจเป็นส่วนของการบริการที่กว้างขึ้นในเรื่องสวัสดิการเด็ก และที่เกี่ยวกับการคุ้มครองทางสังคมบทความนี้กล่าวถึงพัฒนาการของแนวคิดการจัดการรายกรณีในสหรัฐอเมริกา การจัดการรายกรณีสําหรับการคุ้มครองเด็กในประเทศไทยใน 3 ชุมชน การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้จัดการรายกรณี และการสังเกต การดําเนินงานใน 3 ชุมชนในประเทศไทยถูกนํามาใช้ในการรวบรวมข้อมูลผู้เขียนบทความได้ให้ข้อเสนอแนะต่อการปรับปรุงการจัดการรายกรณีในประเทศไทย
According to the Convention on the Rights of the Child 1989, children are not justobjects who belong to their parents and for whom decisions are made. Rather, they are human beings and individuals with their own rights. Children must be allowed to grow, learn, play, develop, and flourish with dignity. The Convention has inspired governments to change laws, policies, and make investments so that more children finally get the health care and nutrition they need to survive, and there are stronger safeguards in place to protect children from violence and exploitation. It has also enabled more children to have their voices heard and participate in their societies. Despite this progress, the Convention is still not fully implemented or widely known and understood. Millions of children continue to suffer violations of their rights when they are denied adequate health care, nutrition, education, and protection from violence. Childhoods continue to be cut short when children are forced to leave school, do hazardous work, get married, fight in wars or are locked up in adult prisons.Case management is a way of organizing and carrying out work to address an individual child's needs in an appropriate, systematic and timely manner, through direct support and/or referrals, and in accordance with a project or program's objectives. Case management can beprovided in emergency and development settings to address a range of issues, including child protection concerns. Case management services can be provided as part of aprogram that addresses the needs of children with particular vulnerabilities or risks (such as separation or commercial sexual exploitation) or may be provided as part of programs or services that address a broader range of child welfare and social protection concerns. This article reveals the development of the case management concept in the United States of America, and case management in 3 communities in Thailand. Literature review, in-depth interview with the case manager, and observation of the implementation of case management in 3 communities in Thailand are employed to collect data. The suggestion to improve case management in Thailand is presented by the authors.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swjournal/article/view/225299/164857
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1783
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Child-protection.pdf82.46 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.