Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1794
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชุติระ ระบอบ-
dc.contributor.authorชีรวิทย์ สุรีรัตน์-
dc.contributor.authorพิมสิริ ภู่ตระกูล-
dc.contributor.authorพิษณุ วรรณกูล-
dc.contributor.authorอินธนันต์ เหล็กนวลชูสิน-
dc.contributor.authorChutira Rabob-
dc.contributor.authorCheerawit Sureerattanan-
dc.contributor.authorPimsiri Pootrakul-
dc.contributor.authorPitsanu Wannakul-
dc.contributor.authorIntanan Leknualchusin-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-03-04T12:42:51Z-
dc.date.available2024-03-04T12:42:51Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.citationวารสารธุรกิจปริทัศน์ 9,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) : 249-267th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1794-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความเฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/117936/90498th
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ยุค 4.0 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อุตสาหกรรม 4.0 เป็นตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ที่มีจุดมุ่งหมายปลดล๊อคประเทศจากสิ่งท้าทายหลายประการอันเป็นผลมาจากตัวแบบการพัฒนาเศรษฐกิจในอดีตที่ผ่านมาที่ในระยะแรกมุ่งเน้นการให้ความสำคัญทางด้านเกษตรกรรม มาเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมเบา และการพัฒนาที่เน้นอุตสาหกรรมที่มีอนาคตสดใส หรืออุตสาหกรรมหนัก สิ่งที่ถือว่าเป็นกับดักของประเทศ ได้แก่ กับดักรายได้ปานกลาง ความไม่เท่าเทียมกันและความไม่สมดุล วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการเปลี่ยนถ่ายมี 4 ประการ ได้แก่ ประการแรก ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ เป็นการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจบนฐานแห่งการสร้างคุณค่าที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ ประการที่สอง สังคมมีความอยู่ดีกินดี เป็นการสร้างสังคมที่เคลื่อนไปข้างหน้าโดยไม่ละทิ้งคนอื่นไว้เบื้องหลัง การเพิ่มขึ้นในคุณค่าความเป็นมนุษย์ เป็นการเปลี่ยนถ่ายคนไทยไปสู่ การพัฒนาศักยภาพของคนไทยในศตวรรษที่ 21 การปกป้องรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สังคมน่าอยู่และเป็นสังคมที่มีคาร์บอนต่ำ สรุปว่าการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 เป็นตัวแบบของการเปลี่ยนแปลงการจัดการระบบเศรษฐกิจของประเทศอันเป็นการวางรากฐานการพัฒนาในระยะยาว เป็นจุดเริ่มต้นในการขับเคลื่อนไปสู่การเป็นประเทศที่มั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน นั่นเอง การเปลี่ยนถ่ายเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 จะต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนเป็นสำคัญ เนื่องจากเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีโดยจะต้องแรงงานที่มีความรู้ความสามารถ ความเป็นสากล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้รวดเร็ว มีความสามารถในการคิดค้นนวัตกรรมที่เชื่อมโยงกับการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น การปรับเปลี่ยนประเทศไทยไปสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 จึงจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้th
dc.description.abstractThe objective of this paper is to enhance the understanding of industrial development to Thailand 4.0 especially Thailand industrial development from past to present day. It is an economic model that aims to unlock the country from several economic challenges resulting from past economic development models which place emphasis on agriculture to light industry and develop sunrise industry or heavy industry. These challenges include “a middle income trap”, “an inequality trap”, and “an imbalanced trap”. The four objectives of Metamorphosis are as follows : First, Economic Prosperity is to create a value-based economy that is driven by innovation, technology and creativity, Second, Social Well-being : to create a society that moves forward without leaving anyone behind, Third, Raising human values : to transform Thais into competence human being in the 21 th century and environmental protection : to become livable society that possesses an economic system capable of adjusting to climate change and low carbon society. Conclusion, the development of industrial to Thailand 4.0 is economic system change model of country in order to long-term development plan and moving Thailand forward toward prosperity, stability and sustainability. They must pay attention to human development to industrial 4.0 because they have skill creativity and internationalization in speed of learning and ability to create the connection between innovation and technology so they will have target success tobe Thailand 4.0.th
dc.language.isothth
dc.subjectการพัฒนาอุตสาหกรรมth
dc.subjectIndustrializationth
dc.subjectการพัฒนาอุตสาหกรรม -- ไทยth
dc.subjectIndustrialization -- Thailandth
dc.titleการพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ยุค 4.0th
dc.title.alternativeIndustrial Deveopment to 4.0th
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Business Administration - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Industrialization.pdf82.85 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.