Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1812
Title: การเพิ่มศักยภาพการเลี้ยงด้วยการถ่ายทอดองค์ความรู้อัตลักษณ์ดั้งเดิมของการเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อจังหวัดสมุทรปราการ
Other Titles: The Potential of Enhancing Snakeskin Gourami Fish Production by Knowledge Transfer through Bang Bo Gourami Fish Conservation and Processing Agriculture, Samut Prakan Province
Authors: วิชุตา อยู่ยงค์
กันต์ติกมาฐ รัตนปริญญานุกูล
บรรเจิดศักดิ์ สัณหภักดี
มาริสสา อินทรเกิด
Wichuta Youyong
Kantikamart Rattanaparinyanukune
Benjertsak Sannhapuckdee
Marisa Intharakoed
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
Keywords: ปลาสลิด -- ไทย -- สมุทรปราการ
Snakeskin gourami -- Thailand -- Samut Prakarn
ปลาสลิด -- การเลี้ยง
การถ่ายทอดเทคโนโลยี
Technology transfer
Issue Date: 2022
Citation: วารสารธุรกิจปริทัศน์ 14,1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) : 514-532
Abstract: การศึกษามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างรายได้เพิ่มขึ้น ROI 5 -10% ให้วิสาหกิจชุมชนสหกรณ์การเกษตรบางบ่อจังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้วิสาหกิจชุมชน การศึกษาครั้งนี้ใช้สถิติในการอธิบาย การสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ต้นทุน รายได้ ผลผลิต ROI และSROI การสัมภาษณ์กลุ่มและเชิงลึก อภิปรายรายผลการศึกษาได้ดังนี้ ประเด็นที่ 1 การสร้างรายได้ให้กับวิสาหกิจชุมชน ผลการศึกษา พบว่า 1) ส่งเสริมการขอมาตรฐานบ่อเลี้ยง เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลาสลิดได้รับมาตรฐาน SL 12 ราย และ GAP 1 ราย 2) ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของลูกปลา ด้วยเทคโนโลยีการผสมพันธุ์เทียม ส่งผลต่อการลดต้นทุนการซื้อลูกปลาทั้งสิ้น 50,000 บาท และ 3) การวางแผนทางการเงิน ด้วยการจดบันทึกฟาร์ม เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลาสลิดได้เข้าร่วมจดบันทึกประจำ 6 ราย ประเด็นที่ 2 การสร้างความเข้มแข็ง พบว่า เกิดการรวมกลุ่มใหม่ก่อตั้งวิสาหกิจกลุ่มจรัญสลิดหอม มีจำนวนสมาชิกทั้งหมด 14 ราย ขยายผลของผู้เลี้ยงปลาสลิดรายใหม่จำนวน 3 ราย สรุปผลงานวิจัย พบว่า ROI เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลาสลิดจำนวน 2 รายได้ ROI เพิ่มขึ้นร้อยละ 212 และร้อยละ 100 และSROI = 0.82
The objectives of this research were 1) to increase revenue, ROI 5-10% for Bang Bo Agricultural Cooperative Community Enterprise in Samut Prakan Province 2) to strengthen that enable community enterprises. This study employed statistics to explain the purposive of sampling. The analysis of the cost-revenue, productivity ROI and SROL were analysed in data synthesis through group an in-depth interviews. The results of the study were discussed as follows: Issue 1 generating income for community enterprises. The results of the study found that 1) to promote the request for pond standards; 12 farmers who raised SL and 1 GAP 2) to promote increasing in the productivity of fry with artifical breeding technology. The costs' reduction results from the total cost of buying fish by 50,000 baht and 3) financial planning with farm notes which 6 farmers participated in taking notes. Issue 2: to strengthen the community enterprises can survive found that a new group was formed the Charan Salidhom enterprises. There are a total of 14 members and to expand 3 new members. Inconclusion the results of the research, it was found that the ROI of 2 farmers received ROI increase of 212% and 100%, and the SROI of 0.82.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/255123/170825
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1812
Appears in Collections:Business Administration - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Technology-Transfer.pdf84.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.