Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะวัน วงษ์บุญหนัก-
dc.contributor.authorศศิวัณย์ อนันควานิช-
dc.contributor.authorภาพิมล พวกสนิท-
dc.contributor.authorศิริพรรษา ไชยชัชวาล-
dc.contributor.authorPiyawan Wongboonnak-
dc.contributor.authorSasiwan Anankawanit-
dc.contributor.authorPapimol Phuaksaniit-
dc.contributor.authorSiripansa Chaichudchaval-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciencesth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences-
dc.date.accessioned2024-03-08T06:50:36Z-
dc.date.available2024-03-08T06:50:36Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.citationวารสาร มฉก. วิชาการ 27, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2566) : 65-77th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1836-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/256615/177670th
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์ ศึกษาการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน COVID-19 และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์และการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน COVID-19 ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล เก็บตัวอย่างจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 415 คน ซึ่งคำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Taro Yamaneเก็บข้อมูลในระหว่างเดือนมีนาคมถึงตุลาคม พ.ศ. 2563 ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์เฉลี่ยเท่ากับ 4.02 ± 0.70 จัดอยู่ในระดับมาก และพบว่าเพศที่แตกต่างกันมีระดับการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์ไม่แตกต่างกัน (p-value = 0.667) ส่วนอายุ ระดับการศึกษา และอาชีพที่แตกต่างกัน มีระดับการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์แตกต่างกัน (p-value < 0.001, = 0.029 และ = 0.032 ตามลำดับ) ความสามารถในการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน COVID-19 พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.08 ± 0.59 จัดอยู่ในระดับมาก อายุที่แตกต่างกันมีระดับการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน COVID-19 แตกต่างกัน (p-value = 0.012) ส่วนเพศ การศึกษา และอาชีพที่แตกต่างกัน มีระดับการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน COVID-19 ไม่แตกต่างกัน (p-value = 0.240, 0.494 และ 0.103 ตามลำดับ) ด้านการหาความสัมพันธ์ระหว่างการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์และการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน COVID-19 โดยการวิเคราะห์ค่า Pearson correlation (r) เท่ากับ 0.277 (p-value < 0.001) แสดงว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับน้อย ซึ่งหมายถึงหากมีการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์เพิ่มขึ้น จะมีความสามารถในการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน COVID-19 เพิ่มขึ้นด้วยth
dc.description.abstractThe objective was to study eHealth literacy and self-management in COVID-19 prevention and the relationship between eHealth literacy and self-management in COVID-19 prevention of the population in Bangkok, Nonthaburi, Pathum Thani, and Samut Prakan. This study used online self-administrative questionnaires as a tool to collect information. The 415 samples in this study were calculated using the Taro Yamane method. Data were collected from March to October 2020. The results found that the sample had an average score of eHealth literacy at 4.02 ± 0.70, a high level. For the gender differences, there was no difference in the level of eHealth literacy (p-value = 0.667). The age differences, education levels, and occupations had different levels of eHealth literacy (p-value < 0.001, 0.029, and 0.032, respectively). The self-management in COVID-19 protection of samples had an average score of 4.08 ± 0.59 which is a high level. The different ages had different levels of self-management in COVID-19 prevention (p-value = 0.012). The gender differences, education levels and occupations had no difference in self-management in COVID-19 prevention (p-value = 0.240, 0.494, and 0.103, respectively). The relationship between eHealth literacy and self-management in COVID-19 prevention from the analysis of Pearson correlation (r) of 0.277 (p-value < 0.001) showed a positive correlation meaning that if there were more eHealth literacy, there would have been good self-management on COVID-19 protection.th
dc.language.isothth
dc.subjectโควิด-19 (โรค) -- การป้องกันth
dc.subjectCOVID-19 (Disease) -- Protectionth
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่อth
dc.subjectMedia literacyth
dc.subjectความรอบรู้ทางสุขภาพth
dc.subjectHealth literacyth
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์และการจัดการตนเอง เพื่อป้องกันโควิด-19 ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth
dc.title.alternativeThe Relationship Between eHealth Literacy and Self-Management in COVID-19 Prevention of the Population in Bangkok and the Metropolitan Regionth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Pharmaceutical Sciences - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Health-Literacy.pdf83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.