Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorแสงอรุณ กนกพงศ์ชัย-
dc.contributor.authorฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.date.accessioned2024-03-09T05:19:34Z-
dc.date.available2024-03-09T05:19:34Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.citationวารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 14,1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) : 35-44th
dc.identifier.issn1905-2863 (Print)-
dc.identifier.issn2730-2296 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1851-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/193142/134609th
dc.description.abstractงานวิจัยนี้จุดประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของเทศกาลตรุษจีนเยาวราช ตั้งแต่เมื่อแรกที่ชาวจีนเข้ามาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในแถบนี้ทั้งที่ดำเนินไปตามวิถีชีวิตตามเทศกาล จนมาถึงการจัดงานอย่างเป็นทางการด้วยความร่วมมือของประชาคมเยาวราช ภาครัฐ ภาคเอกชน และคลี่คลายมาสู่เทศกาลตรุษจีนที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ โดยเน้นศึกษาด้วยการทำงานภาคสนามในแนวมานุษยวิทยาวัฒนธรรม พร้อมกับสอบทานข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร หรือ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Quanlitative Research) ผ่านแนวคิดโครงสร้างสังคมจีน แนวคิดเกี่ยวกับประเพณี เทศกาล และแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลการศึกษาพบว่า พัฒนาการของเทศกาลตรุษจีนเยาวราชเกิดขึ้นเป็นระยะๆ ตามบริบทที่ต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลาของประวัติศาสตร์สังคมไทย เทศกาลตรุษจีนในไทยมีเหตุมาจากปกติวิสัยของมนุษย์ที่จะรักษาขนบของตนและการยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรมชนกลุ่มต่างๆ ที่เข้ามาพึ่งพระบรทโพธิสมภาร ที่สามารถปฏิบัติตนตามจารีตนิยมของตนได้ตราบเท่าที่มิได้ทำให้อาณาราษฎรส่วนใหญ่เดือดร้อน หรือ กระทบต่อความมั่นคงของชาติ ต่อมาจึงมีเหตุผลทางเศรษฐกิจเป็นปัจจัยสำคัญ จากกิจกรรมการท่องเที่ยวในหมู่ชาวไทยด้วยกันเองและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ท้ายที่สุดคือการที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งทรงใส่พระทัยในจีนวิทยาโดยเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณีจีนอย่างมาก ที่ทำให้เทศกาลตรุษจีนเยาวราชมีชื่อเสียงในหมู่นานาชาติ จากเอกลักษณ์ที่เป็นหนึ่งเดียวในโลกโดยเฉพาะการที่พระราชวงศ์ชั้นสูงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เด็จฯ มาทรงเปิดงานทุกปีในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา นับเป็นปรากฎการณ์ที่ไม่พบจากเทศกาลตรุษจีน ณ ภูมิภาคใดในโลก หากได้มีการนำแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์มาพัฒนาต่อยอดมรดกวัฒนธรรมส่วนนี้ ก็จะทำให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่งอย่างยั่งยืนต่อไป เพราะเกิดจากการมีส่วนร่วมของประชาคมชาคมชาวไทยเชื้อสายจีนย่านเยาวราชที่บูรณาการกับหน่วยงานราชการและเอกชนth
dc.description.abstractThe development of Yaowarat Chinese New Year Festival is in connection with the development of Thai society in many ways including political, economic, and sociocultural aspects. Each aspect is closely related to one another. This research focuses on the Chinese community in Sampeng area during early Rattanakosin period when Bangkok city was established, continuing to the settlement of Chinese community in Yaowarat area which was founded in the reign of King Rama V as the most significant trading area of the country reflecting an eminent Chinese community in terms of people’s way of life, belief, arts, tradition, as well as physical features like household architectures and Chinese billboards along the street. Therefore, Yaowarat is generally accepted as Thailand’s China Town. According to an article mentioned about the Kingdom of Thailand in the reign of King Rama V, Chinese New Year at that time was seen as a lively celebration until the end of World War II in the period of Cold War when this festival became only an event among family members and relatives. Yaowarat Chinese New Year Festival; consequently, was celebrated quietly so as not to be outstanding and observed by authorities. However, later after 1987, the Thai government began its policy of promoting tourism and considered Yaowarat Chinese New Year Festival as stimulating the country’s economy. Also, Princess Maha Chakri Sirindhorn has been an important part in bringing Chinese New Year Festival in Yaowarat into an international recognition as a valuable and well-known annual event. Since 1987, Chinese New Year Festival in Yaowarat has been typically created to be a unique Chinese New Year celebration unlike any other countries in the world; for instance, a creative economic idea of annually designing clothes with Chinese zodiac year screens, community strengths, as well as occupational inheritance all of which have inspired a widespread educational trend of Chinese Studies. It can be said that Yaowarat Chinese New Year Festival is another example of a conservation conducted in parallel with a development.th
dc.language.isothth
dc.subjectตรุษจีน -- ไทยth
dc.subjectChinese New Yearth
dc.subjectเยาวราช (กรุงเทพฯ)th
dc.subjectYauwarat (Bangkok)th
dc.subjectจีน -- ความเป็นอยู่และประเพณีth
dc.subjectChina -- Social life and customsth
dc.titleเทศกาลตรุษจีนเยาวราช: ภูมิหลังและพัฒนาการth
dc.title.alternativeYaowarat Chinese New Year Festival: Background and Developmentth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chinese-New-Year.pdf78.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.