Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1857
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จิรธัตริ์ เรืองเขียน | - |
dc.contributor.author | บุญช่วย สนสี | - |
dc.contributor.author | Chiratat Ruangkhian | - |
dc.contributor.author | Boonchuay Sonsri | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-09T09:28:14Z | - |
dc.date.available | 2024-03-09T09:28:14Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 15, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 204-214 | th |
dc.identifier.issn | 1905-2863 (Print) | - |
dc.identifier.issn | 2730-2296 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1857 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/242679/168480 | th |
dc.description.abstract | ในมุมมองของประชาชนทั่วไป ประโยชน์ของวรรณคดีอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือประโยชน์โดยตรงและประโยชน์โดยอ้อม ประโยชน์ทางตรง คือการใช้ความรู้ด้านวรรณคดีในการทำงานเลี้ยงชีพ เช่น ครูสอนวรรณคดี ครูสอนภาษากวี นักเขียนนิยาย และนักวิจารณ์วรรณกรรม เป็นต้น ส่วนประโยชน์ทางอ้อม ซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรม เนื่องจากมุ่งเน้นประโยชน์ด้านความรู้สึกนึกคิดและสุนทรียะทางใจ เช่น ให้ความบันเทิง ธำรงรักษาศิลปวัฒนธรรมส่งเสริมศีลธรรมเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิตและความรู้ทางภาษา เป็นต้น แม้กระนั้นก็ตาม ประโยชน์ของวรรณคดีอาจมองจากมุมที่ต่างออกไปในบทความนี้ ผู้เขียนมีความสนใจในประเด็นประโยชน์ของการประยุกต์ใช้กลวิธีหรือชั้นเชิงในการสื่อสารความรู้สึกนึกคิดในการทำงานและการใช้ชีวิตจริงและพบว่าประโยชน์ดังกล่าวนี้ปรากฏอยู่ใน “กลวิธีการสร้างตัวละคร” ซึ่งแท้จริงแล้ว ผู้คนต่างประยุกต์ใช้ประโยชน์จากกลวิธีดังกล่าวในการทำงานและการใช้ชีวิตโดยไม่รู้ตัวกันมานานแล้วผลการศึกษาสามารถนำไปใช้สร้างความเข้าใจด้านประโยชน์ของวรรณคดีในแง่มุมที่กว้างขึ้นมากกว่าเดิมที่ทราบกันอยู่แล้ว | th |
dc.description.abstract | In people's points of view, the advantages of literature are divided into two types: direct and indirect benefits. The direct benefits are for earning a living (or making money), such as literature teacher, language teacher, poet, novel writer, and literary critic. The second one is indirect and abstract because the benefits are mostly related to thoughts, motions, and esthetic, such as entertainment, art and culture preservation, promotion of morality and enhancement of life experiences, and language learning. Yet, the advantages of literature can be considered in another different view. In this article, the focus is on the advantages derived from the application of communicative skills for careers and everyday life. The benefits that are found in "Characterization" are applied to life and careers without noticing for a long time. The article is beneficial to broaden the understanding of the advantages of literature. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.subject | ตัวละครและลักษณะนิสัยในวรรณคดี | th |
dc.subject | Characters and characteristics in literature | th |
dc.subject | การเล่าเรื่อง | th |
dc.subject | Narration (Rhetoric) | th |
dc.title | ประโยชน์ของวรรณคดี (1) : กลวิธีการสร้างตัวละครในวรรณกรรมกับการใช้ประโยชน์เชิงการสื่อสารที่ปรากฏในการทำงานและการใช้ชีวิตจริง | th |
dc.title.alternative | Advantages of Literature (1) : Characterization and the Application of Communicative Skills for Careers and Living a Life | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Characters.pdf | 82.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.