Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1858
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorLiu, Guoxiu-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ บูรณะกร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.date.accessioned2024-03-09T09:37:59Z-
dc.date.available2024-03-09T09:37:59Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.citationวารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 15, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 46-59th
dc.identifier.issn1905-2863 (Print)-
dc.identifier.issn2730-2296 (Online)-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1858-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/243533/168468th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมชนบทไทยในนวนิยายชุด ฟ้าห่มดินโดยศึกษาจากนวนิยายชุด ฟ้าห่มดิน จำนวน 5 เล่ม ได้แก่ น้ำห่มดิน เสือล่องวารี พายุ นอกกองเพลิง และมุดอ ตุวอ ผลการวิจัยพบว่า นวนิยายชุด ฟ้าห่มดิน ได้สะท้อนสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมชนบท 2 ด้าน คือ วิถีชีวิตชนบทแบบดั้งเดิม และวิถีชีวิตชนบทที่เปลี่ยนแปลงไป ด้านวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม พบว่า ที่อยู่อาศัยเป็นบ้านไม้ มีสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่สวยงาม มีอาชีพทำไร่ ทำนา นำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาปรุงอาหาร ใช้จักรยานเป็นพาหนะ ที่สำคัญมีประเพณีการแข่งเรือแบบดั้งเดิม ทำให้คนในชนบทได้สนุกสนานร่วมกันมีประเพณีงานศพของชาวไทยพุธและชาวไทยมุสลิมที่จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงคนตายและให้ก าลังใจคนอยู่แต่ต่างกันที่ชาวไทยพุทธจะจัดเรียบง่ายกว่า ส่วนของชาวไทยมุสลิมจัดอย่างยิ่งใหญ่ และใช้เงินมาก ส่วนวิถีชีวิตชาวชนบทที่เปลี่ยนแปลงไปพบว่ามีการสร้างบ้านหลังใหญ่ มีกำแพง มีโรงรถ สิ่งแวดล้อมชนบทถูกทำลายด้วยการก่อสร้างอาคารต่าง ๆ เพิ่มขึ้นด้านครอบครัว สมาชิกในครอบครัวเริ่มต้องการแยกครอบครัวออกไป ผู้นำครอบครัวมีบทบาทสำคัญในครอบครัวคนในครอบครัวรักผูกพันและเสียสละให้กัน คนชนบทเริ่มให้ความสำคัญกับการศึกษา และเด็กชนบทฝันอยากเรียนมหาวิทยาลัยth
dc.description.abstractThis research aimed to analyze reflections of Thai rural society in ‘Fah Hom Din’ novel series. Five titles were studied, which were Nam-hom-din, Seu-long-waree, Phayu, Nog-gong-phleng, and Mu-dor-Tu-wor. The research found two aspects of ways of life of Thai rural people, the traditional and the modern. For the traditional way of life, people lived in simple wooden houses with natural surroundings. Agriculture was their career and provided them food. Bicycles were generally used. Social traditions, like the annual regatta or the funeral, caused social contacts of joy or sympathy. It was noticeable that Buddhist Thai funeral seemed simpler than the Muslim one which spent more money. On the contrary, for the modern way of life, people constructed big houses with walls and garages. Natural surroundings were encroached by buildings. Nuclear families were increased, and family heads played major roles in the family. Family members were closely connected and devoted. Education was increasingly important, and rural students dreamed to study in universities.th
dc.language.isothth
dc.subjectนวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subjectThai fiction -- History and criticismth
dc.subjectสังคมชนบท -- ไทยth
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectContent analysis (Communication)th
dc.subjectฟ้าห่มดิน (นวนิยาย)th
dc.titleภาพสะท้อนสังคมชนบทไทยในนวนิยายชุด ฟ้าห่มดินth
dc.title.alternativeReflections of Thai Rural Society in ‘Fah Hom Din’ Novel Seriesth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fah-Hom-Din.pdf79.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.