Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1877
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชุติมา บุญรัตน์ | - |
dc.contributor.author | รัตนา อินทรานุปกรณ์ | - |
dc.contributor.author | Chutima Boonrat | - |
dc.contributor.author | Rattana Indranupakorn | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences | th |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences | th |
dc.date.accessioned | 2024-03-10T04:02:56Z | - |
dc.date.available | 2024-03-10T04:02:56Z | - |
dc.date.issued | 2015 | - |
dc.identifier.citation | Thai Bull Pharm Sci 10, 2 (July-December 2015) : 1-11 | th |
dc.identifier.issn | 1686-9540 | - |
dc.identifier.other | 10.14456/tbps.2015.8 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1877 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TBPS/article/view/42554/35160 | th |
dc.description.abstract | จากการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสกัด 3 แบบ (การใช้เครื่องเขย่า การใช้คลื่นเสียงความถี่สูงและการสกัดแบบต่อเนื่อง) และตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัด 2 ชนิด (เมทานอลและเอทานอล) ที่สามารถสกัดสารสำคัญแอลฟาแมงโกสทีนจากเปลือกมังคุดได้สูงสุด พบว่าการสกัดแบบต่อเนื่องด้วยตัวทำละลายเมทานอลและเอทานอลให้ปริมาณแอลฟาแมงโกสทีนมากกว่าการสกัดด้วยวิธีอื่น การสกัดแบบต่อเนื่องด้วยตัวทำละลายเมทานอลจะให้ปริมาณแอลฟาแมงโกสทีนสูงสุด ในขณะที่การสกัดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงโดยใช้ตัวทำละลายเอทานอลจะให้ปริมาณแอลฟาแมงโกสทีนต่ำสุด ดังนั้นการสกัดแบบต่อเนื่องด้วยตัวทำละลายเมทานอลจัดเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของวิธีสกัดที่ให้ปริมาณแอลฟาแมงโกสทินสูงจากสารสกัดและผลิตภัณฑ์เปลือกมังคุด นอกจากนี้ยังได้พัฒนาวิธีวิเคราะห์ด้วยเครื่องโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (เอชพีแอลซี) ให้ได้วิธีที่ง่าย รวดเร็วและจำเพาะแก่การวิเคราะห์แอลฟาแมงโกสทีนในสารสกัดจากเปลือกมังคุดทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ พร้อมทั้งทำการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ที่พัฒนาขึ้น พบว่าเป็นวิธีวิเคราะห์ที่ปริมาณสารแอลฟาแมงโกสทีนมีความสัมพันธ์เป็นเส้นตรงกับค่าที่วัดได้ อีกทั้งมีความถูกต้องและแม่นยำสำหรับการควบคุมคุณภาพ | th |
dc.language.iso | en_US | th |
dc.subject | แอลฟาแมงโกสทิน | th |
dc.subject | Alpha-mangostin | th |
dc.subject | เปลือกมังคุด | th |
dc.subject | Mangosteen shell | th |
dc.subject | สารสกัดจากพืช | th |
dc.subject | Plant extracts | th |
dc.subject | การสกัด (เคมี) | th |
dc.subject | Extraction (Chemistry) | th |
dc.title | ผลของวิธีการสกัดและตัวทำละลายต่อปริมาณสารแอลฟาแมงโกสตินที่สกัดได้จากเปลือกมังคุด | th |
dc.title.alternative | INFLUENCE OF EXTRACTION TECHNIQUES AND SOLVENTS ON α-MANGOSTIN AMOUNTS FROM MANGOSTEEN (Garcinia mangostanaL.) PERICARP | th |
dc.type | Article | th |
Appears in Collections: | Pharmaceutical Sciences - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
MANGOSTEEN.pdf | 80.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.